Tag: Learning Organization

SMEs กับการก้าวไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้(Learning organization) ตอนที่ 2

SMEs กับการก้าวไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้(Learning organization) ตอนที่ 2 2. การเรียนรู้ เป็นความรู้ที่ผ่านกระบวนการคิดของสมอง(Processing) ทั้งการสังเคราะห์ การวิเคราะห์ การเชื่อมโยง ความเกี่ยวเนื่องขององค์ประกอบความรู้และความรู้ย่อยที่ซ่อนอยู่ รวมทั้งการทดลองปฏิบัติให้รู้ เช่น การอ่านมาว่า การเกี่ยวข้าวลำบาก ก็ลองมาเกี่ยวข้าวดู ผ่านกระบวนการศึกษา วิเคราะห์ วิธีการจับรวงข้าว การจับเคียว การเกี่ยว เป็นองค์ความรู้ที่สัมผัสรู้สึกได้จริง ตัวอย่าง ถ้าใช้วิธีการเกี่ยวข้าวอย่างรวดเร็วและรีบเร่ง เพื่อให้เสร็จเร็วเพียง 2 ชั่งโมง
Read More

หัดทำ KM แบบ 'ไม่รู้ตัว' ในองค์กร

หัดทำ KM แบบ “ไม่รู้ตัว” ในองค์กร คอลัมน์ องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ โดย ผศ.ดร.มงคลชัย วิริยะพินิจ Mongkolchai@acc.chula.ac.th ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 4079 ในบทความที่แล้วได้เขียนกล่าวแนะนำท่านผู้อ่านให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการทำการจัดการความรู้ หรือ knowledge management หรือที่ต่อไปนี้จะเรียกว่า KM ในองค์กรโดยปราศจากการสนับสนุนอย่างจริงจังจากผู้บริหารระดับสูง
Read More

Marketing Strategies in KM(1)

Marketing Strategies in KM(1) คอลัมน์ human corner โดย ดร.จิรประภา อัครบวร โครงการบัณฑิตศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ประชาชาติธุรกิจ หน้า 6 วันที่ 30 พฤษภาคม 2548 ปีที่ 29 ฉบับที่ 3692 (2892) การจัดการความรู้ หรือ KM
Read More

สิ่งท้าทายในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้

สิ่งท้าทายในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ ดร.เกศรา รักชาติ ketsara_rugchart@yahoo.com เรื่องของ LO เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับคนทั้งองค์กร ต้องลงมือทำโดยคนค่ะ (People Approach) และวิธีการนั้นต้องใช้วิธีปรับเปลี่ยนคนจากภายในสู่ภายนอก (Inside out Approach) เท่านั้น สมัยอดีตการเปลี่ยนแปลงมักจะมาจากผู้บริหารข้างบน นั่นก็คือผู้บริหารคิด (Think) และ ผู้ปฏิบัติงานเป็นผู้ลงมือทำ (Act) แต่ในยุคสมัยปัจจุบันการคิดและการลงมือปฏิบัติจะต้องเกิดขึ้นในทุกๆ ระดับ (All Levels) ดังนั้นการสร้างองค์กรให้เป็น LO จึงจำเป็นต้องอาศัยระยะเวลาในการสร้างวิธีคิดให้เกิดขึ้นในทุกๆ
Read More

อิคุจิโร โนนากะ ผู้บุกเบิก KM เอเซีย

อิคุจิโร โนนากะ ผู้บุกเบิก KM เอเซีย โดย บิสิเนสไทย [20-2-2007] ศาสตราจารย์ อิคุจิโร โนนากะ เป็นชาวญี่ปุ่น ถือเป็นกูรูด้าน KM ชาวเอเชียที่ถือว่าได้รับการยอมรับทั่วโลก สำหรับประวัติการทำงานนั้น เป็นอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการความรู้ที่ Haas School of Business, UC Berkeley และที่ Hitotsubashi University in Tokyo
Read More

KM ปัญญาติดอาวุธ

KM ปัญญาติดอาวุธ โดย บิสิเนสไทย [20-2-2007] “ความรู้”คืออาวุธคำพูดนี้ยังใช้ได้ตลอดกาล ยิ่งในยุคธุรกิจที่แข่งขันกันรุนแรงแบบนี้ด้วยแล้ว มีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาความรู้ที่มีอยู่ให้สามารถประยุกต์มาเป็นกลยุทธ์เพื่อรับมือกับการแข่งขันได้ทั้งระยะสั้นและระยะยาวต่อไป !! ทุกคนมีความรู้คู่ตัวกันอยู่แล้ว แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนที่จะสามารถนำความรู้นั้นมาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ได้ นั่นหมายถึงไม่มีกระบวนการถ่ายทอดที่ดี รวมถึงไม่มีการจัดการกับระบบความคิดนั้นๆ ดังนั้นการจัดการความรู้เพื่อให้คนได้เข้าถึงและใช้ความรู้อย่างเต็มประสิทธิภาพ กำลังเป็นที่สนใจในแทบทุกองค์กร และถือว่าเป็นแนวโน้มใหม่ที่พูดกันมากยิ่งขึ้นทุกวันในองค์กรประเทศไทย KM ก้าวสู่ยุคที่ 4 KM (knowledge management) หรือที่รู้จักกันว่าเป็นการบริหารจัดการความรู้ กำลังเข้ามามีอิทธิพลต่อสังคมไทยมากขึ้น และวิวัฒนาการของ KM นั้น ที่ผ่านมาการจัดการความรู้แบ่งออกเป็น
Read More

องค์กรการเรียนรู้ – 2

องค์กรการเรียนรู้ – 2 การบริหารจัดการโดย Grid ประสิทธิภาพของคนเป็นกุญแจสำคัญที่จะนำไปสู่การเพิ่มผลผลิตและความเจริญเติบโตขององค์กร ทัศนคติในการรวมพลังภายในองค์กร และวิญญาณแห่งการแข่งขันกับคู่แข่งภายนอก เป็นสิ่งที่ทำให้บริษัทต่าง ๆ ยังคงอยู่ในแนวหน้าของธุรกิจของอุตสาหกรรมนั้น ๆ สิ่งสำคัญในการทำให้ประสิทธิผลของคนในองค์กรยังคงมีประสิทธิภาพ ก็อยู่ที่การจัดการกับทรัพยากรที่สำคัญที่สุดขององค์กรนั้น ๆ นั่นก็คือทรัพยากรบุคคลนั่นเอง ในการประกอบธุรกิจนั้น กลยุทธ์ในแนวคิดและเทคนิคในการวิเคราะห์วัดผล ควบคุมและการพัฒนาที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เป็นผลให้การใช้ทรัพยากรต่ำกว่าที่พึ่งจะได้เป็นอย่างมาก การจัดการกับทรัพยากรด้านการเงินและวัตถุดิบ แสดงให้เห็นถึงผลในทางลบในเรื่องดังกล่าว ถ้าทรัพยากรบุคคลยังใช้ได้ไม่เต็มที่ เราก็จะไม่ได้เปรียบอะไรเลย ถึงแม้จะมีทรัพยากรอื่น ๆ ที่ดีกว่าก็ตาม ถ้าไม่มีปฏิสัมพันธ์ของคนที่ดีต่อกัน
Read More

องค์กรการเรียนรู้ – 1

องค์กรการเรียนรู้ – 1 ความเป็นมา องค์กรเรียนรู้ (Learning Organization) เป็นการบริหารรูปแบบหนึ่งที่ใช้เป็นพื้นฐานในการ ก้าวไปสู่ความสำเร็จขององค์กรได้ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ และธุรกิจเอกชน โดยสามารถจะประยุกต์ใช้ร่วมกับระบบการบริหารรูปแบบอื่นๆ ที่มีลักษณะเป็นการพัฒนาองค์กรให้เพียบพร้อมไปด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creative Organization) รวมถึงให้บรรลุผลสำเร็จในระบบการบริหารเชิง คุณภาพรวม (Total Quality Management) ตลอดทั่วทั้งองค์กร การพัฒนาองค์กรเรียนรู้นี้เป็นการเน้นความสำคัญไปที่ความเป็นผู้นำ (Leadership) ความคิดความเข้าใจในเชิงระบบ (Systems Thinking) และการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team
Read More

สะกิด..วันละนิด คิดให้ซึ้ง…ถึง KM

สะกิด..วันละนิด คิดให้ซึ้ง…ถึง KM ( จารีย์ บันสิทธิ์ คัดลอกเพื่อบอกต่อ โดยมีแหล่งที่มาจาก ผู้จัดการรายสัปดาห์27 มกราคม ปัญญาปฏิบัติ : ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice) (โดย Dipl.-Ing. Bawdin Wijarn bawdinw@ais.co.th) “องค์ความรู้ที่มีขององค์การจะถูกจัดเก็บไว้ในหลายรูปแบบ ได้แก่ เอกสาร เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ และสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์อื่นๆ เช่น เทป
Read More

“องค์กรแห่งการเรียนรู้” ( Learning Organization : LO)

“องค์กรแห่งการเรียนรู้” ( Learning Organization : LO) “องค์กรแห่งการเรียนรู้” เป็นองค์กรที่มีการสร้างช่องทางให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ซึ่งกันและกันภายในระหว่างบุคลากร ควบคู่ไปกับการรับความรู้จากภายนอก เป้าประสงค์สำคัญ คือ เอื้อให้เกิดโอกาสในการหาแนวปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practices) เพื่อนำไปสู่การพัฒนาและสร้างเป็นฐานความรู้ที่เข้มแข็ง(Core competence) ขององค์กร เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา องค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. การเรียนรู้ (Learning) หรือพลวัตการเรียนรู้ (Learning
Read More