Tag: Knowledge Management

การจัดการความรู้แบบเคเอ็ม (Knowledge Management)

การจัดการความรู้แบบเคเอ็ม (Knowledge Management) ประเภทความรู้ ความรู้อาจแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ความรู้ที่เด่นชัด เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร ตำรา คู่มือต่างๆ หรือวิชาการ ส่วนความรู้อีกประเภทหรือ คือ ความรู้ซ่อนเร้น เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในตัวบุคคล เป็นประสบการณ์ที่ถูกสั่งสมายาวนาน เป็นภูมิปัญญา ซึ่งความรู้ทั้ง 2 ประเภทนี้จะมีวิธีการจัดการที่แตกต่างกันดังนี้ 1. ความรู้ที่เด่นชัด (Explicit Knowledge) การจัดการความรู้ประเภทนี้นั้นจะเน้นที่การเข้าถึงแหล่งความรู้ ตรวจสอบ
Read More

กระแส Knowledge Management หรือ การจัดการความรู้ในยุคปัจจุบัน

กระแส Knowledge Management หรือ การจัดการความรู้ในยุคปัจจุบัน บทความ โดย ดร.มงคลชัย วิริยะพินิจ Mongkolchai@acc.chula.ac.th ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3971 (3171) ผมได้มีโอกาสไปร่วมสัมมนาเกี่ยวกับ KM Asia ซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศสิงคโปร์ รู้สึกดีใจที่มีโอกาสไปร่วมงานประชุมระดับนานาชาติครั้งนี้ เพราะการประชุมสัมมนา ดังกล่าวเป็นการปรับความรู้
Read More

การจัดการความรู้ ที่แท้…เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน

การจัดการความรู้ ที่แท้…เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน คอลัมน์ องค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้ โดย ดร.มงคลชัย วิริยะพินิจ mongkolchai@acc.chula.ac.th ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3974 (3174) วันนี้ขอให้ความรู้ต่อท่านผู้อ่านหลายๆ ท่านที่อาจจะยังมีความรู้สึกที่คลุมเครืออยู่ว่าตกลงแล้วการจัดการความรู้ หรือ Knowledge Management (KM) คืออะไร โดยเฉพาะท่านผู้บริหารระดับสูงทั้งหลายซึ่งอยู่ในหน่วยงานราชการ
Read More

มิใช่เรื่องยาก ในการจะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

มิใช่เรื่องยาก ในการจะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ คอลัมน์ องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ โดย ดร.มงคลชัย วิริยะพินิจ Mongkolchai@acc.chula.ac.th ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3979 (3179) ในบทความที่แล้วผมได้อธิบายให้ท่านผู้อ่านเข้าใจถึงความหมายของการจัดการความรู้ เพื่อให้เห็นภาพที่กระจ่างชัดมากขึ้น ซึ่งผมมีความต้องการที่จะสื่อให้ท่านผู้อ่านทราบว่าการจัดการความรู้มิใช่เรื่องยากแต่อย่างใด และจริงๆ แล้วก็เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ในวันนี้ผมอยากจะขอกล่าวถึงแนวคิดในเรื่องเกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้บ้าง ซึ่งเป็นแนวคิดที่เกี่ยวเนื่องอย่างยิ่งกับเรื่องของการจัดการความรู้ ท่านผู้อ่านคงสงสัยว่าเกี่ยวเนื่องกันอย่างไร ถ้าจะให้อธิบายลงในรายละเอียดคงจะใช้เนื้อที่กระดาษมากพอดู
Read More

7 แนวโน้มการจัดการความรู้ระดับโลก

7 แนวโน้มการจัดการความรู้ระดับโลก HR&Management : วรนุช เจียมรจนานนท์ กรุงเทพธุรกิจ วันจันทร์ที่ 03 มีนาคม พ.ศ. 2551 ในโลกของทุนนิยม ขีดความสามารถองค์กรอาจจะชี้วัดกันที่ ผลปฏิบัติงานเป็นเลิศ (high performance organization) ทว่าในโลกของเศรษฐกิจองค์ความรู้ (knowledge economy) ความโดดเด่นจนประกายกระทบสายตา กลับเป็นเรื่องของ การมุ่งผลสัมฤทธิ์แห่งองค์ความรู้ (knowledge performance organization) และเนิ่นนานวัน
Read More

การจัดการความรู้…ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การจัดการความรู้…ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คอลัมน์ องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ โดย ดร.มงคลชัย วิริยะพินิจ Mongkolchai@acc.chula.ac.th ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2551 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3983 (3183) ตั้งแต่ผมเริ่มเขียนเรื่องเกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO หรือ Learning Organization) และการจัดการความรู้ (KM หรือ knowledge management)
Read More

หัดทำ KM แบบ 'ไม่รู้ตัว' ในองค์กร

หัดทำ KM แบบ “ไม่รู้ตัว” ในองค์กร คอลัมน์ องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ โดย ผศ.ดร.มงคลชัย วิริยะพินิจ Mongkolchai@acc.chula.ac.th ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 4079 ในบทความที่แล้วได้เขียนกล่าวแนะนำท่านผู้อ่านให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการทำการจัดการความรู้ หรือ knowledge management หรือที่ต่อไปนี้จะเรียกว่า KM ในองค์กรโดยปราศจากการสนับสนุนอย่างจริงจังจากผู้บริหารระดับสูง
Read More

ความรู้….คือทรัพยากรอันทรงคุณค่า

ความรู้….คือทรัพยากรอันทรงคุณค่า คอลัมน์ องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ โดย ดร. มงคลชัย วิริยะพินิจ Mongkolchai@acc.chula.ac.th ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2551 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3995 (3195) ได้เขียนเล่าให้ท่านผู้อ่านมามาก พอสมควรในเรื่องเกี่ยวกับองค์กรแห่งการเรียนรู้ (learning organization หรือ LO) และการจัดการความรู้ (knowledge management
Read More

การจัดการความรู้เรื่องวัฒนธรรม …กลยุทธ์ทางการตลาดอันแยบยล

การจัดการความรู้เรื่องวัฒนธรรม …กลยุทธ์ทางการตลาดอันแยบยล คอลัมน์ องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ โดย ดร.มงคลชัย วิริยะพินิจ mongkolchai@acc.chula.ac.th ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ปีที่ 31 ฉบับที่ 4003 (3203) เมื่อเร็วๆ นี้ ผมได้มีโอกาสพานิสิต เดินทางไปศึกษาดูงาน ณ ประเทศเกาหลีใต้ รู้สึกประทับใจในแง่ของความรวดเร็ว ในความเจริญก้าวหน้าของประเทศเกาหลีใต้ เมื่อสมัยตอนเป็นเด็ก
Read More

เหตุที่ทำให้กลุ่มฉลาด

เหตุที่ทำให้กลุ่มฉลาด มองมุมใหม่ : รศ.ดร.พสุ เดชะรินทร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพธุรกิจ วันอังคารที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2549 สัปดาห์นี้คงเป็นตอนสุดท้ายใน เรื่องของความฉลาดของกลุ่ม นะครับ โดยเนื้อหาหลักๆ นั้น นำมาจากหนังสือ Wisdom of Crowds หนังสือขายดีที่เขียนโดย James Surowiecki โดยเนื้อหาหลักของหนังสือเล่มนี้นั้นต้องการชี้ให้เห็นว่า กลุ่มชนหรือกลุ่มคนที่มีคุณลักษณะที่เหมาะสม จะมีการตัดสินใจที่ถูกต้องและเหมาะสมกว่า
Read More