Tag: experience

การจัดการโลจิสติกส์อย่างมีดีไซน์

การจัดการโลจิสติกส์อย่างมีดีไซน์ การดำเนินธุรกิจในปัจจุบันต้องอาศัยความสามารถในการปรับตัว ให้ทันกับความต้องการของผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และยากต่อการคาดการณ์ สินค้าหลายประเภทเริ่มจะมีวงจรชีวิตที่สั้นลง นอกจากนี้ ลูกค้ายังมีความต้องการสินค้าและบริการ ที่มีความแตกต่างในรายละเอียดปลีกย่อยมากยิ่งขึ้น ทำให้ประสิทธิภาพของการดำเนินกิจกรรมโลจิสติกส์ กลายมาเป็นตัวชี้วัดความอยู่รอดของธุรกิจไปแล้ว หากพิจารณาจากบริบทของการพัฒนาไปสู่องค์กรแห่งดีไซน์ (Corporation of Design) ที่มีองค์ประกอบร่วม 3 ด้าน ได้แก่ กระบวนการ เทคโนโลยี และสุนทรียภาพ จะพบว่า แนวคิด “ดีไซน์” ถือเป็นหัวใจสำคัญในการจัดการโลจิสติกส์อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการ การจัดการโลจิสติกส์ต้องอาศัยการออกแบบและปรับปรุงกระบวนการทำงานให้เกิดความยืดหยุ่นและคล่องตัว
Read More

รัฐวิสาหกิจโลจิสติกส์-ได้เวลาเปลี่ยนแปลงใหญ่

รัฐวิสาหกิจโลจิสติกส์-ได้เวลาเปลี่ยนแปลงใหญ่   ความจำเป็นที่ประเทศต้องมีการลงทุนทางด้านเครือข่ายโลจิสติกส์ หรือระบบการจัดส่ง รวมทั้งระบบขนส่งมวลชน เป็นสิ่งที่ไม่อาจปฏิเสธได้ ยิ่งในยุคน้ำมันแพงด้วยแล้ว การลงทุนเหล่านี้ย่อมมีความสำคัญมากขึ้นเป็นทวีคูณ และการปรับปรุงให้ระบบโลจิสติกส์ และขนส่งมวลชนให้มีประสิทธิภาพ จะทำให้เราสามารถรับมือกับสถานการณ์ราคาพลังงานผันผวนได้ ลำพัง ศักยภาพทางการเงิน ของรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับระบบขนส่งมวลชน และโลจิสติกส์ มีขีดจำกัด ดังนั้น จึงไม่อาจหวังได้ว่ารัฐวิสาหกิจเหล่านี้จะอยู่ในสถานะที่จะขยับขยายการลงทุนเองได้ การปล่อยให้เป็นไปตามยถากรรม หรือสภาพดังกล่าว ย่อมหมายถึง การสูญเสียโอกาสในการขยายบริการพื้นฐาน ให้เกิดขึ้นอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ระบบโลจิสติกส์และระบบขนส่งมวลชนที่ดี ยังเป็นพื้นฐานสำคัญต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การคาดหวังว่ารัฐวิสาหกิจเหล่านี้ จะผลักดันเมกะโปรเจคที่ใช้เม็ดเงินในการลงทุนระดับหมื่นล้านแสนล้านย่อมไม่อาจเกิดขึ้นได้
Read More

หัดทำ KM แบบ 'ไม่รู้ตัว' ในองค์กร

หัดทำ KM แบบ “ไม่รู้ตัว” ในองค์กร คอลัมน์ องค์กรแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้ โดย ผศ.ดร.มงคลชัย วิริยะพินิจ Mongkolchai@acc.chula.ac.th ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ปีที่ 32 ฉบับที่ 4079 ในบทความที่แล้วได้เขียนกล่าวแนะนำท่านผู้อ่านให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการทำการจัดการความรู้ หรือ knowledge management หรือที่ต่อไปนี้จะเรียกว่า KM ในองค์กรโดยปราศจากการสนับสนุนอย่างจริงจังจากผู้บริหารระดับสูง
Read More

ยักษ์ใหญ่ 'ซิตี้กรุ๊ป' ถึง 'ผู้ประกอบการ' รายเล็ก

ยักษ์ใหญ่ “ซิตี้กรุ๊ป” ถึง “ผู้ประกอบการ” รายเล็ก ธงชัย สันติวงษ์ กรุงเทพธุรกิจ วันอังคารที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2552 เห็นข่าวรายงานว่า “MBA Entrepreneur บูม ท่ามกลางวิกฤติเศรษฐกิจ” ทำให้น่าสนใจและคิดต่อไปว่า สภาพการเปลี่ยนแปลงของเงื่อนไขสภาวะเศรษฐกิจในรอบสามสิบปี จนมาเกิดวิกฤติการเงินโลกวันนี้ ว่า มีอะไรที่ให้ข้อคิดบทเรียนในทางบริหารจัดการได้บ้าง เพราะใครๆ ต่างรู้ว่า โลกยุคใหม่ได้มี “นวัตกรรมใหม่ด้านไอที” แล้วตามมาด้วยบทเรียนที่เจ็บแสบ
Read More

คิดข้ามฟาก : คบ 'เด็ก' สร้าง 'งาน'

คิดข้ามฟาก : คบ “เด็ก” สร้าง “งาน” ประภาส ทองสุข กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 03 เมษายน พ.ศ. 2552 เมื่อพูดถึง ริชาร์ด แบรนสัน (Richard Branson) หลายๆ คน โดยเฉพาะนักการตลาดคงรู้จักเขาเป็นอย่างดี ธุรกิจของเขา ไม่ว่าจะเป็นสินค้าและบริการในหลากหลายรูปแบบกว่า 200 บริษัท ภายใต้แบรนด์เดียวกันหมด คือ
Read More

ซัมซุง 'จิ้งจก' ที่กล้ากัดหางตัวเอง

ซัมซุง “จิ้งจก” ที่กล้ากัดหางตัวเอง – ฟาสต์ฟู้ดธุรกิจ “หนุ่มเมืองจันท์” ซัมซุง วันก่อนหยิบนิตยสารเล่มหนึ่งจากแผงหนังสือ “IDESIGN” เป็นหนังสือเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบสินค้าหรือการดีไซน์ เรื่องบนปกเป็นเรื่องเกี่ยวกับ “ซัมซุง” ผู้ปฏิวัติการออกแบบสินค้าดิจิตอล อ่านจบแล้วต้องรีบกลับไปพลิกหนังสือ “ฮาวทู” ที่ซื้อตามคำแนะนำในคอลัมน์ “เช็กสต็อก” หรือ “หนุงหนิง” “ซัมซุง มหาอำนาจอิเล็กทรอนิกส์” ที่ “ฮง ฮาซัง” เขียน และ “อรจิรา” แปล
Read More

'เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์' สมการ บันเทิงครบวงจร

‘เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์”‘ สมการ บันเทิงครบวงจร แม้จะดำเนินธุรกิจมาไม่ยาวนานระดับตำนานของวงการ แต่วันนี้ “เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป” โดยใต้การกุมบังเหียนของ วิชา พูลวรลักษณ์ เจ้าของฉายา “ราชาเมืองหนัง” ซึ่งระยะหลังเปลี่ยนเป็น”ราชาเทกโอเวอร์” ก็สามารถผงาดขึ้นมาเป็นผู้นำธุรกิจโรงภาพยนตร์ด้วยคอนเซ็ปต์ เอนเตอร์เทนเมนต์ คอมเพล็กซ์ ครบวงจร ปัจจุบันภายใต้บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ปฯ มีโรงหนัง 2 แบรนด์ คือ เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์
Read More

มอง 'เศรษฐศาสตร์' ให้ถึงแก่นสาร

มอง “เศรษฐศาสตร์” ให้ถึงแก่นสาร คอลัมน์ ระดมสมอง โดย เพสซิมิสต์ ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3837 (3037) ขณะนี้มีการกล่าวถึงนโยบายเศรษฐกิจกันมาก ซึ่งอิงไปถึงทฤษฎีที่แตกต่างจากทฤษฎีพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ เช่น ความผาสุกของประชาชนหรือ gross national happiness (GNH) เศรษฐกิจพอเพียงและการให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม เช่น
Read More

กรณีศึกษาการทำงานของนิตยสารระดับโลก (จบ)

กรณีศึกษาการทำงานของนิตยสารระดับโลก (จบ) วิกรม กรมดิษฐ์ vikrom@vikrom.net กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 สัปดาห์ที่แล้วผมได้ชี้ให้เห็นถึงสัดส่วนของมหาเศรษฐีของโลกในแต่ละทวีปที่มีแง่มุมที่น่าสนใจ และควรแก่การศึกษา ตลอดจนวิเคราะห์ให้เห็นภาพสะท้อนสภาวะเศรษฐกิจของภูมิภาคนั้นๆ ได้ คราวนี้ขอด้วยว่า ฐานเศรษฐกิจของเอเชีย ถึงแม้จะมีการเติบโตสูง แต่มองในแง่ของตัวเองจะพบว่าเรามี GDP ห่างจากอเมริกา และยุโรปอยู่มากเลยทีเดียว เพราะ GDP ของทั้งโลกมี 45 ล้านล้านเหรียญ ซึ่งคนไทยมี
Read More

กรณีศึกษาการทำงานของนิตยสารระดับโลก (1)

กรณีศึกษาการทำงานของนิตยสารระดับโลก” (1) วิกรม กรมดิษฐ์ vikrom@vikrom.net กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เมื่อไม่นานกี่สัปดาห์มานี้นิตยสารฟอร์บส์ ได้ติดต่อขอสัมภาษณ์ผมเกี่ยวกับประวัติ การทำธุรกิจตลอดจนมุมมอง ต่อสภาวการณ์บ้านเมืองในปัจจุบัน เพื่อที่จะนำบทสัมภาษณ์ลงในนิตยสารของเขา ที่จะออกต้นสัปดาห์หน้าที่จะถึงนี้ จากการได้พูดคุยกับเจ้าหน้าที่ ที่ทำการสัมภาษณ์ซึ่งเป็นนักศึกษาปริญญาโท ที่ศึกษาต่ออยู่ในสหรัฐอเมริกา และทำงานพาร์ทไทม์กับกองบรรณาธิการนิตยสารฟอร์บส์ ซึ่งเป็นนิตยสารเก่าแก่เล่มหนึ่งที่ก่อตั้ง ตั้งแต่ค.ศ.1917 มานั้น ตลอดจนได้สังเกตวิธีการทำงานอย่างเป็นระบบ มาตรฐานสากล มีจรรยาบรรณ เคารพแหล่งข่าวแล้วผมรู้สึกทึ่ง
Read More