Tag: กฏหมายธุรกิจ
01 กฏหมาย
ธุรกิจซอฟต์แวร์ & กฎหมายลิขสิทธิ์ สืบเนื่องจากความพยายามในการปรับปรุงกฎหมายลิขสิทธิ์ฉบับปี พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อให้มีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน ในการรวบรวมความคิดเห็นเพื่อประกอบแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายครั้งนี้ ได้ให้ความสำคัญกับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในการรวมกำหนดแนวทางป้องกันการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา โดยตัวแทนของสมาคมได้เสนอแนวทางที่เป็นจุดยืน ๗ ประเด็น ในการปรับปรุงกฎหมายลิขสิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ของประเทศไทย ประกอบด้วย 1. แบบของการละเมิดธุรกิจซอฟต์แวร์ มีรูปแบบของการกระทำที่ละเมิดลิขสิทธิ์ได้หลายรูปแบบ เริ่มจากการทำสำเนาซอฟต์แวร์เพื่อจำหน่ายหรือที่รู้จักดีในชื่อ แผ่นก็อปปี้, การละเมิดด้วยการบันทึกลงในเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมจำหน่าย, การทำซ้ำภายในองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน กรณีนี้เป็นการละเมิดที่รุนแรงที่สุดคิดเป็นการละเมิดร้อยละ ๕๐ ของความเสียหายในการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ทั้งหมด และรูปแบบการละเมิดที่กำลังมาแรงที่สุดด้วยการดาวน์โหลดซอฟต์แวร์จากอินเทอร์เน็ต 2. บทลงโทษ เมื่อเปรียบเทียบทรัพย์สินทางปัญญาที่แลกมาด้วยความรู้ความคิด
Read More
กฏหมายด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ลิขสิทธิ์ทางอินเทอร์เน็ต (14) หลัก The First sale Doctrine หลัก First sale doctrine เป็นหลักกฎหมายเฉพาะของอเมริกา เป็นหลักที่จำกัดสิทธิของผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ในการควบคุมงานอันมีลิขสิทธิ์ของตนหลังจากที่มีการขายครั้งแรกไปแล้ว ทำให้ผู้ซื้อสินค้านั้นคนแรกมีอิสระที่จะทำการใด ๆ กับงานนั้นก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นการให้ยืม เอาออกขายต่อไป และ/หรือทำลายงานนั้นก็ได้ เดิมหลัก First sale doctrine นี้ให้กับงานที่ถูกคัดลอกไปครั้งแรก แต่ต่อมาก็ใช้กับทุกคนที่เป็นเจ้าของงานที่ได้มาโดยถูกต้องตามกฎหมาย ไม่คำถึงว่าจะเป็นการขายครั้งแรกหรือเป็นการขายครั้งต่อ ๆมาก็ตาม หลักนี้เอามาใช้กับอินเตอร์เนตได้ด้วย
Read More
กฏหมายด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ลิขสิทธิ์ทางอินเทอร์เน็ต (13) มีการนำเอา Fair use doctrine มาใช้กับเทคโนโลยีข่าวสารในหลาย ๆ โอกาส (หลักการนี้หมายถึงเป็นการใช้งานอันมีลิขลิทธิ์ของผู้อื่นโดยไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์ และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิ์อันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร) เช่น ในคดีระหว่าง MPL Communications,Inc. v. MP3.com.Inc และคดีระหว่าง UMG Recordingd,Inc v. MP3.com,Inc. ผู้แต่งเนื้อเพลงและผู้บันทึกเสียงฟ้องร้องเวบ MP3.com ว่าละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง MP3.com เป็นเวบที่ให้บริการลูกค้าในการบันทึกเพลงลง MP3
Read More
กฏหมายด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ลิขสิทธิ์ทางอินเทอร์เน็ต (12) การบังคับใช้ลิขสิทธิ์ทางอินเตอร์เน็ต หลังจากการต่อสู้กับปัญหาเหล่านี้ มันเป็นเรื่องธรรมดาที่จะตั้งคำถามถึงขอบเขตของอินเตอร์เน็ตที่จะมีภายใต้กฎหมายการคุ้มครองลิขสิทธิ์ หลักที่สำคัญที่เป็นรากฐานของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา คือ การคุ้มครองลิขสิทธิ์ที่ครอบคลุมถึงงานวรรณกรรม วิทยาศาสตร์ และศิลปกรรม อะไรก็ตาม ที่เป็นในรูปแบบของการแสดงออกซึ่งความคิด ถ้างานดังกล่าว ถูกกำหนดขึ้นในสิ่งที่สามารถจับต้องได้หรือในรูปแบบวัตถุ สิ่งนี้ถูกเรียกว่า สภาพที่สามารถจับต้องได้ ดังนั้น ตราบใดที่วัตถุบนอินเตอร์เน็ตมีรูปแบบเป็นสิ่งที่สามารถจับต้องได้ กฎหมายลิขสิทธิ์ก็อ้างสิทธิ์ภายในเขตอำนาจศาลนั้นได้ งานที่ถูกเขียนทั้งหลาย การเล่นทั้งหลาย ภาพยนตร์ หรือเพลง ถูกส่งผ่านทางอินเตอร์เน็ต รูปภาพ และ โค้ด HTML
Read More
กฏหมายด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ลิขสิทธิ์ทางอินเทอร์เน็ต (11) ข้อขัดแย้งของกฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายลิขสิทธิ์ซึ่งใช้ควบคุมดูแลหลักเกณฑ์เรื่องทรัพย์สินทางปัญญาทางอินเตอร์เน็ตมีความแตกต่างกันในระหว่างประเทศต่างๆ ในขณะนี้ อินเตอร์เน็ตเป็นสิ่งที่เป็นสากล มันเป็นเรื่องจริงที่ว่ามีอนุสัญญาระหว่างประเทศมากมายซึ่งกำหนดให้มีมาตรฐานขั้นต่ำของการคุ้มครองลิขสิทธิ์ อย่างไรก็ตาม กฎหมายของชาติ โดยเฉพาะประเทศซึ่งได้รับเอาอนุสัญญาเหล่านั้นไป ยังคงสามารถใช้บังคับได้กับการคุ้มครองในระดับที่สูงกว่า กฎหมายลิขสิทธิ์สหรัฐอเมริกาเช่นเดียวกับประเทศที่ร่ำรวยหลายประเทศ เพิ่งได้ขยายระยะเวลาการคุ้มครองลิขสิทธิ์ในงานวรรณกรรมเป็น 70 ปี นับแต่ผู้ประพันธ์ถึงแก่ความตาย ในทางระหว่างประเทศอนุสัญญา Berne ได้กำหนดระยะเวลาทั่วไปและระยะเวลาขั้นต่ำ คือนับแต่ผู้ประพันธ์ตายและ 50 ปีต่อจากนั้น 50 ปีของการคุ้มครองได้รับอนุญาตให้ผลิตงานด้านภาพยนตร์จากงานสร้างสรรค์ของพวกเขา และ 25 ปี สำหรับงานด้านภาพถ่าย
Read More
กฏหมายด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ลิขสิทธิ์ทางอินเทอร์เน็ต (10) การต่อสู้กับ ships ปี 2004 ได้เห็นการพัฒนาอย่างหนึ่งในการต่อสู้กับการ copy โดยระบบดิจิตอลของงานศิลปกรรมโดยผิดกฎหมาย องค์การภาพเคลื่อนไหวแห่งเมริกา (MPAA) เริ่มฟ้องผู้ผลิต ships คอมพิวเตอร์ กล่าวหาพวกเขาในการสนับสนุนการ copy ดีวีดี ที่ผิดกฎหมาย เป้าหมายแรกคือ บริษัท 2 แห่ง คือ MediaTex ของไต้หวัน และ Sigma Design
Read More
กฏหมายด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ลิขสิทธิ์ทางอินเทอร์เน็ต (9) องค์การควบคุมการ copy ดีวีดี กับ Bunner ข้อเท็จจริงของคดีเริ่มขึ้นในปี 2000 ดังต่อไปนี้ ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชาวสหรัฐชื่อ Andrew Bunner เขียนโปรแกรม DeCss บนเว็บไซต์ของเขา องค์การซึ่งเป็นผู้แทนของโรงภาพยนตร์ฮอลลิวูดกล่าวว่า องค์การควบคุมระบบ encryption (CSS) ซึ่งรวบรวมหาข้อมูลเพื่อป้องกันการ copy ภาพยนตร์ดีวีดี และองค์การดังกล่าวฟ้อง Bunner ภายใต้พระราชบัญญัติความลับทางการค้าของแคลิฟอร์เนีย โจทก์กล่าวหาว่าจำเลยเผยแพร่ความลับทางอุตสาหกรรมโดยการเปิดเผยรหัส DeCSS
Read More
กฏหมายด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ลิขสิทธิ์ทางอินเทอร์เน็ต (8) คดี Johansen อินเตอร์เน็ตไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมดนตรีเท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมภาพเคลื่อนไหวอีกด้วย คดีของ DeCSS เป็นคดีที่มีชื่อเสียงมาก DeCSS เป็นโปรแกรมซึ่งมุ่งที่จะอนุญาตให้ผู้ใช้ระบบปฏิบัติการ Linux ดูหนังดีวีดีบนคอมพิวเตอร์ของพวกเขา แต่โปรมแกรมนี้อนุญาตให้ copy ดิสก์โดยผิดกฎหมายโดยการทำลาย CSS (the content scrambling system) บนดีวีดี โดยไม่มีสิทธิ สมาคมรูปภาพเคลื่อนไหวแห่งอเมริกาฟ้องวัยรุ่นชาวนอร์เวย์ ชื่อ Johansen ในศาลนอร์เวย์ เขาเผชิญกับคำพิพากษาที่ให้จำคุกเป็นเวลา
Read More
กฏหมายด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ลิขสิทธิ์ทางอินเทอร์เน็ต (7) การต่อสู้กับการแชร์ไฟล์ ปลายปี 2005 อุตสาหกรรมบันทึกเสียงในสหรัฐ ยื่นฟ้องคดีกับประชาชนมากกว่า 3,400 คน และ 600 คดีในนั้นได้ทำการชำระเงินค่าเสียหายคดีละ 3,000 ปอนด์ อย่างไรก็ตามสหรัฐไม่ได้เป็นเพียงประเทศเดียวเท่านั้นที่คดีได้ถูกยื่นฟ้องกับบุคคลซึ่งไม่เพียงแต่แชร์ไฟล์ของพวกเขาบนอินเตอร์เน็ต แต่ยังมีการจัดหาลิงค์ไปสู่ไซต์ที่มีการแชร์ไฟล์ ในนอร์เวย์ นักศึกษาที่ชื่อ Bruvik ถูกฟ้องเพราะเว็บไซต์ของเขาจัดหาลิงค์ไปสู่ฟรีไฟล์มากกว่า 700 ไฟล์ บนเซิฟเวอร์ อื่นๆ เว็บไซต์อนุญาตให้ผู้ใช้เสนอและรับเอาการเชื่อมโยงไปสู่ไฟล์ MP3 แต่เว็บไซต์ดังกล่าวไม่ใช่เจ้าของดนตรีเหล่านั้น ศาลนอร์เวย์วินิจฉัยในปี
Read More
กฏหมายด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ลิขสิทธิ์ทางอินเทอร์เน็ต (6) คดี STREAMCAST หลังจากกรณีของ Napster และ Kazaa แล้ว สงครามของการใช้ไฟล์ข้อมูลร่วมกันยังไม่จบ มันยังไปถึงผู้ผลิตเทคโนโลยีซึ่งอนุญาตให้ใช้เครือข่าย peer to peer สองโปรแกรมคือ Grokster และ Morphens เป็นสิ่งสำคัญในการสร้างการติดต่อแบบ peer to peer ให้เป็นไปได้ โดยปราศจากศูนย์กลางของไฟล์ที่ถูกใช้ร่วมกันและปราศจากศูนย์กลางการเชื่อมต่อ ซึ่งการร้องขอหรือข้อมูลที่เกี่ยวกับการขนส่งถูกส่งผ่าน การประชุมสัมมนาทางกฎหมายสหรัฐกับเครือข่าย Streamcast ซึ่งสร้างซอฟแวร์ล้าหลัง
Read More
Posts navigation