Category: โรคหู-ตา-คอ-จมูก

สุขภาพ : ตาโตแอ๊บแบ๊ว…แบ๊ว…อันตราย

สุขภาพ : ตาโตแอ๊บแบ๊ว…แบ๊ว…อันตราย ตาโตสดใสใครๆ ก็อยากมี อย่างที่ฮิตไม่เลิกก็เห็นจะเป็นแฟชั่น คอนแทคเลนส์ ทั้งบิ๊กอายส์ที่ทำให้ดวงตากลมโต หรือหลากสีสันเพื่อเปลี่ยนสีตา ที่เอาใจสาวๆ หนุ่มๆ ที่ไม่ค่อยจะมั่นใจกับดวงตาของตัวเอง กลัวว่าจะเล็ก ตี่ หยี ไป… ความจริงเป็นเรื่องอันตรายมาก ที่นำมาใส่กันอย่างพร่ำเพรื่อเพียงเพื่อวัตถุประสงค์ของความสวยงามเพียงอย่างเดียว ควรคำนึงถึงความสะอาดและผลเสียที่จะเกิดขึ้นได้ เช่นอาจทำให้เกิดปัญหาเคืองตา คันตา เกิดรอยแผล อาจถึงขั้นติดเชื้อ หรืออาจสูญเสียกระจกตาถาวรเลยก็เป็นได้ ซึ่งก็เคยเกิดขึ้นมาแล้ว นอกจากนี้ การต่อขนตาถาวรก็เป็นอีกแฟชั่นหนึ่งที่ฮิตไม่เลิกในหมู่สาวๆ แต่ขนตาใหม่จะสวยในช่วงเดือนแรกๆ
Read More

สุขภาพ : สารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดเสี่ยงต้อกระจก

สุขภาพ : สารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดเสี่ยงต้อกระจก ดวงดาเป็นอวัยวะที่มีความละเอียดอ่อนซับซ้อน และยังเป็นอวัยวะที่ต้องกระทบกับแสงแดดโดยตรงเป็นประจำทุกวัน เป็นสาเหตุของการเกิดต้อกระจกและจอประสาทตาเชื่อมซึ่งนำไปสู่สาเหตุการตาบอดในผู้สูงอายุ เราจึงจำเป็นต้องได้รับสารอาหารที่ช่วยรักษาสุขภาพตา คือ สารต้านอนุมูลอิสระ เบต้าแคโรทีน เป็นสารอาหารที่ร่างกายเปลี่ยนเป็น วิตามินเอ ซึ่งช่วยในการมองเห็นในที่มืดและยังเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ให้ประโยชน์ต่อสุขภาพตาช่วยบำรุงรักษาดวงตาและป้องกันโรคตาหลายชนิด เช่น ต้อกระจก โรคตาบอดกล่าวคือ และยังช่วยให้ผิวเยื่อเมือกต่างๆ ในร่างกายชุ่มชื้นด้วย ไบโอฟลาโวนอยด์ พบได้ในบลูเบอร์รี่ องุ่นแดง ส้ม และแครนเบอร์รี่ ไบโอฟลาโวนอยด์ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ คือ สารแอนโธไวยานิดิน ช่วยป้องกันเลนส์ตา
Read More

สุขภาพ : กาฬโรคปอด’ (ป้อง) กันไว้ดีกว่าแก้

สุขภาพ : กาฬโรคปอด’ (ป้อง) กันไว้ดีกว่าแก้ ในขณะที่ประชาชนกำลังรับมือกับการระบาดใหญ่ของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ก็มีข่าวฮือฮาอีกรอบเมื่อพบผู้เสียชีวิตจากกาฬโรคปอด ซึ่งผู้เสียชีวิตอาศัยอยู่ในเมืองจื่อเคอถาน มณฑลชิงไห่ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจีน องค์การอนามัยโลกได้ให้ข้อมูลว่ากาฬโรคปอดเป็นหนึ่งในโรคติดเชื้อที่สามารถ ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ภายใน 24 ชั่วโมง หลังการติดเชื้อ ในอดีตมีการระบาดใหญ่ของกาฬโรคเกิดขึ้น 3 ครั้ง ผู้คนล้มตายจำนวนนับล้านๆ คน สำหรับการระบาดในประเทศไทยครั้งสุดท้ายเมื่อปี พ.ศ. 2495 จากนั้นไม่มีรายงานกาฬโรคเกิดขึ้นในประเทศไทยจนถึงปัจจุบัน การติดต่อของโรค กาฬโรคเป็นโรคติดต่อที่มีสัตว์ฟันแทะจำพวก หนู
Read More

สุขภาพ : ลูกนอนกรน…อันตราย!!

สุขภาพ : ลูกนอนกรน…อันตราย!! เสียงกรนเป็นเสียงที่เกิดช่วงหายใจเข้าขณะนอนหลับ ในเด็กปกติขณะหลับ ทางเดินหายใจส่วนบนจะตีบแคบลงกว่าขณะตื่น และลิ้นทำให้เกิดเสียงกรนแต่ยังมีภาวะการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ปกติจึงไม่เกิดปัญหา แต่ในเด็กบางรายที่นอนกรนร่วมกับมีภาวะพร่องออกซิเจนและมีคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง มีคุณภาพของการนอนหลับผิดปกติไปเราเรียกว่ามีภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นขณะหลับ หรือ Obstructive sleep Apnea (OSA) ภาวะแทรกซ้อนในเด็กที่เป็น OSA เช่น ปัญหาสมองและพฤติกรรม เรียนตกต่ำ ซุกซนผิดปกติ สมาธิสั้น ความดันโลหิตสูง และหัวใจซีกขวาวายได้ สาเหตุ – ต่อมทอมซิลและอะดินอยต์โต ซึ่งพบได้บ่อยโดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนหรือวัยอนุบาล ซึ่งเป็นวัยที่ระบบน้ำเหลืองมีการเจริญเติบโตมากกว่าวัยอื่น
Read More

สุขภาพ : หน้าฝนระวังปอดบวม

สุขภาพ : หน้าฝนระวังปอดบวม โรคปอดอักเสบ (Pneumonia) พอเข้าฤดูฝนหลายคนอาจรู้สึกไม่ค่อยสบาย หรืออาจเจ็บป่วยกันมากขึ้น ที่เป็นเช่นนี้เพราะมีเชื้อโรคหลายตัวที่มากับฝน โดยเฉพาะเชื้อโรคที่ทำให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ตั้งแต่ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ หลอดลมอักเสบไปจนถึงโรคที่เกี่ยวกับปอด สถานการณ์ทั่วไปจากรายงานของกรมควบคุมโรค ตั้งแต่เดือนมกราคม-14 มีนาคม 2552 พบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบของประเทศจำนวน 22,827 ราย อัตราป่วยคิดเป็นร้อยละ 36.21 ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต 143 ราย รายงานข้อมูลทางสถิติของโรงพยาบาลพญาไท 2 ตั้งแต่เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
Read More

สุขภาพ : ‘ไอ’ แก้ได้ไม่ง้อยา

สุขภาพ : ‘ไอ’ แก้ได้ไม่ง้อยา ‘ไอ’ เป็นอาการที่มักจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคมะเร็งปอด แต่ใช่ว่าต้องป่วยด้วยโรคร้ายดังกล่าวนี้เท่านั้นจึงจะมีอาการไอ หากเป็นแค่โรคหวัดก็ยังทำให้คุณไอได้ จึงนำวิธีบรรเทาอาการไอ โดยไม่ต้องใช้ยามาฝากให้ลองปฏิบัติ ก่อนอื่นเราควรรู้ว่า อาการไอ นั้นถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ไอฉับพลัน จะมีอาการไอไม่เกิน 3 สัปดาห์ ส่วนใหญ่มักเกิดจากการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน เช่น หวัด หลอดลมอักเสบ หรือสูดสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในหลอดลม เช่น ควันบุหรี่ แก๊ส
Read More

สุขภาพ : ‘โรคคอตีบ’ระบาดหนักภาคอีสาน

สุขภาพ : ‘โรคคอตีบ’ระบาดหนักภาคอีสาน ‘โรคคอตีบ’ ระบาดหนักในภาคอีสาน เผย 3 เดือนยอดผู้ป่วยพุ่ง 87 ราย แนะสาธารณะสุขอำเภอจับตาแรงงานย้ายถิ่น ตั้งเป้าปี56 กวาดล้างหมด 11 ต.ค.55 นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคอีสาน เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันตัวเลขผู้ป่วยเพิ่มเป็น 87 รายแล้ว จังหวัดที่มีผู้ป่วยสูงสุด ได้แก่
Read More

สุขภาพ : 7 วิธีห่างไกลหวัด แบบไคโรแพรคติก

สุขภาพ : 7 วิธีห่างไกลหวัด แบบไคโรแพรคติก สถานการณ์ของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช1 เอ็น1 หรือไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่กำลังแพร่ระบาดในขณะนี้ ทำให้มีจำนวนยอดผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยแนวทางป้องกันหนึ่งที่มีการแนะนำในช่วงนี้ก็คือ การดูแลร่างกายให้มีระบบภูมิต้านทานโรคที่แข็งแรง แต่มีวิธีใดบ้างที่จะทำให้ระบบภูมิต้านทานในร่างกายของเราแข็งแรงขึ้นได้หล่ะ ? ดร.ทอม สมิธ ไคโรแพรคเตอร์จากประเทศสหรัฐอเมริกา ประจำคลินิกกายภาพบำบัดดีสปายน์ ไคโรแพรคติก กล่าวถึงความการทำงานของร่างกายที่มีผลต่อภูมิต้านทานของร่างกายว่า เพราะทุกระบบ ทุกส่วนในร่างกายมีความสัมพันธ์กันหมด โดยมีสมองและศูนย์กลางของระบบประสาทคอยทำหน้าที่รับผิดชอบเชื่อมโยงร่างกายและเซลล์ต่างๆ ซึ่งมีความหมายมาก ถ้าหากสมอง
Read More

สุขภาพ : ต้อหิน…มฤตยูเงียบที่ต้องระวัง!!

สุขภาพ : ต้อหิน…มฤตยูเงียบที่ต้องระวัง!! ต้อหิน (glaucoma) เป็นโรคตาซึ่งคนที่เป็นส่วนใหญ่มักไม่ทราบว่าตัวเองป่วยเป็นโรคนี้ โดยเฉพาะในระยะแรกๆ พอทราบก็มักจะใกล้บอดแล้ว ที่อันตรายที่สุดคือ ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องตาจะบอดในที่สุด ไม่ช้าก็เร็ว ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคในแต่ละบุคคล ต้อหินเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคต้อ ตามที่คนเรียกกันโดยทั่วๆ ไป ที่พบบ่อยๆ มีต้อกระจก ต้อเนื้อ ต้อลม และต้อหิน แต่ต้อหินเป็นต้อเพียงชนิดที่ไม่มีตัวต้อให้เห็น เพราะต้อหินเป็นกลุ่มโรคที่มีการทำลายขั้วประสาทตา ซึ่งเป็นตัวนำกระแสการมองเห็นไปสู่สมอง ซึ่งเมื่อขั้วประสาทตาถูกทำลายจะมีผลทำให้สูญเสียลานสายตา เมื่อเป็นมากๆ ก็สูญเสียการมองเห็นในที่สุด ซึ่งเป็นการสูญเสียชนิดถาวร ไม่สามารถรักษาให้กลับคืนมามองเห็นได้
Read More

สุขภาพ : ขี้หูอุดตัน…ทำอย่างไรดี?

สุขภาพ : ขี้หูอุดตัน…ทำอย่างไรดี? ขี้หู สร้างจากต่อมสร้างขี้หูซึ่งอยู่ในช่องหูชั้นนอก ขี้หูมีคุณสมบัติเป็นกรดอ่อนๆ มีสารต่อต้านเชื้อโรค และไม่ละลายน้ำ ขี้หู มีหน้าที่ช่วยปกป้องผิวหนังของช่องหูชั้นนอก และป้องกันไม่ให้สิ่งแปลกปลอมเข้าไปในช่องหู บางคนมีขี้หูเปียก บางคนมีขี้หูแห้ง บางคนมีขี้หูมาก บางคนมีขี้หูน้อย โดยปกติ ขี้หูจะมีการเคลื่อนที่จากเยื่อบุแก้วหูออกไปยังช่องหูชั้นนอกได้เอง ไม่จำเป็นต้องไปแคะออก ปัญหาของขี้หูเกิดขึ้นได้ ถ้าขี้หูมีปริมาณมาก และอุดตันช่องหูชั้นนอก ทำให้มีอาการหูอื้อ มีเสียงดังในหู หรือปวดหูหน่วงๆ ได้ สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดที่ทำให้ขี้หูมีปัญหา คือ การใช้ไม้พันสำลีทำความสะอาดช่องหูชั้นนอก
Read More