Category: อัจฉริยะสร้างได้
อัจฉริยะสร้างได้
ความเฉลียวฉลาดและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ความฉลาดของบุคคล พ่อแม่ทุกคนล้วนอยากให้ลูกฉลาดมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ ปัจจุบันได้มีการเผยแพร่ความรู้เรื่องความฉลาดของบุคคลในแง่มุมต่างๆ ซึ่งทำให้ผู้ปกครองสามารถค้นหาแววอัจฉริยะภาพของเด็กได้หลากหลายรูปแบบ ไม่จำกัดเฉพาะแต่ความสามารถใด ซึ่งในอดีตเรามักจะคุ้นเคยกับความฉลาดทางเชาว์นปัญญา ซึ่งเรียกว่าระดับ ไอคิว ( I.Q. ) การวัดไอคิว เกิดขึ้นครั้งแรกในปีค.ศ.๑๙๐๕ โดยนักจิตวิทยาชาวฝรั่งเศสที่ต้องการแยกบุคคลปัญญาอ่อนออกจากคนปกติ เพื่อจะได้จัดการศึกษาให้อย่างเหมาะสม โดยใช้การเปรียบเทียบระหว่างความสามารถที่ควรจะเป็นกับอายุสมองแล้วคำนวณออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์ ปัจจุบัน การวัดไอคิวมักใช้แบบทดสอบของเวล์คเลอร์ ที่เริ่มพัฒนามาตั้งแต่ปีค.ศ.๑๙๓๐ โดยอาศัยงานวิจัยของนักวิชาการและนักการทหาร เป็นกลุ่มข้อทดสอบทั้งหมด ๑๑ กลุ่ม เป็นกลุ่มที่ต้องใช้ภาษาโต้ตอบ ๖ กลุ่ม ไม่ต้องใช้ภาษาโต้ตอบ
Read More
อัจฉริยะสร้างได้
สมอง อัจฉริยะ ความฉลาด และการพัฒนา ความเข้าใจทั่วไปเกี่ยวกับสมอง ส่วนประกอบของสมอง โปรตีน 8% ไขมัน 10% น้ำ 82% เราสูญเสียน้ำตลอดเวลาทางลมหายใจ การหิวน้ำ เป็นการสั่งการจากสมองพฤติกรรมที่ดีที่สุด คือการค่อยๆจิบน้ำ เป็นระยะ ความเข้าใจทั่วไปเกี่ยวกับสมอง น้ำที่ดีที่สุดสำหรับสมอง น้ำเปล่าอุณหภูมิห้อง น้ำอุ่น, น้ำเย็น, น้ำหวาน อุณหภูมิ + / – ต้องไปพักที่กระเพาะ
Read More
อัจฉริยะสร้างได้
เปลี่ยนความคิด จบเลขเป็นได้มากกว่า “ครู” ความเชื่อที่ว่าเรียนจบคณิตศาสตร์จะเป็นอะไรไปไม่ได้นอกจากครูสอนคณิตศาสตร์ กลายเป็น “ความเชื่อปรำปรากับวิชาคณิตศาสตร์” ไปเสียแล้วในยุคนี้ เพราะนักคณิตศาสตร์กำลังเป็นที่ต้องการในหลายองค์กร จะเรียนเลขมากมายไปทำไมให้ปวดหัว? เรียนคณิตศาสตร์แล้วจะทำมาหากินอะไรได้? จบคณิตศาสตร์ใครที่ไหนเขาจะรับเข้าทำงานถ้าไม่เป็นอาจารย์สอนหนังสือ? อีกสารพันคำถามและความคิดที่เกิดจากความไม่เข้าใจคณิตศาสตร์ แต่ต่อไปนี้เตรียมตัวลืมความเชื่อแบบนี้ไปได้เลย โดยเฉพาะในยุคของสังคมที่เต็มไปด้วยความเสี่ยงรอบด้าน นักเรียนชั้น ม.ปลาย จากโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศกว่า 150 ชีวิต ได้มีโอกาสใกล้ชิดกับนักวิทยาศาสตร์ชั้นแนวหน้าของไทย ในกิจกรรมเสวนากับนักวิทยาศาสตร์ระดับชาติ ระหว่างเข้าค่ายกับโครงการ “ไทย ไซน์ แคมป์ ไทยแลนด์” (Thai
Read More
อัจฉริยะสร้างได้
‘mind map’ ฝ่าวิกฤต ด้วยพลังสมอง ธัญญา ผลอนันต์ ไม่รู้ว่าระหว่างชื่อของ “mind map” แผนที่ความคิด และ “ธัญญา ผลอนันต์” ในสังคมไทยชื่อใดจะเป็นที่รู้จักมากกว่า เพียงแต่ถ้าไม่มี “ธัญญา ผลอนันต์” ผู้ก่อตั้งบูซานเซ็นเตอร์ เครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพสมอง อย่าง “mind map” อาจจะไม่ได้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายและกว้างขวางเช่นวันนี้ เพราะเขาถือเป็นคนแรกที่นำเอา “mind map” เครื่องมือในการจัดระบบความคิดซึ่งเป็นผลงานการคิดค้นของ “โทนี่
Read More
อัจฉริยะสร้างได้
หลักธรรมแห่งความฉลาด ๖ ประการ(คิว) เป็นที่ทราบกันดีว่า ปัจจุบันนี้มีการศึกษาปัจจัยที่ทำให้การดำเนินชีวิตมีการพัฒนาไปสู่ ความสำเร็จ โดยแบ่งเป็นความสามารถด้านต่างๆถึง ๖ ด้าน แต่ผลปรากฏว่ายังไม่สามารถทำให้ ชีวิตสมบูรณ์ได้ ถ้าหากหากเรายังมองชีวิตตามความเป็นจริงไม่ได้ จึงสมควรเพิ่มเข้าไป เป็นข้อที่ ๗ ในความสามารถในแต่ละด้านมีชื่อเป็นภาษาอังกฤษ ที่เมื่อย่อแล้วลงท้าย ด้วย Q เช่น IQ EQ MQ AQ SQ PQ และ RQ
Read More
อัจฉริยะสร้างได้
“ต้นแบบ, จุดแข็ง, ความถนัด, อัจฉริยะ, พรสวรรค์” : คนละเรื่องเดียวกันหรือไม่ ? ปีเตอร์ ดรัคเกอร์ กูรูด้านการบริหาร การจัดการ ผู้ยิ่งใหญ่ของโลก ซึ่งได้ล่วงลับไปแล้ว ได้เคยกล่าวว่า คนเราจะประสบความสำเร็จในชีวิตได้นั้น จะต้องหา “จุดแข็ง” ของตัวเองให้พบ และพัฒนาไปอย่างสุดกำลังด้วยการเน้นที่จุดแข็งนี้ อย่ามัวไปเสียเวลาเพื่อกำจัด หรือแก้ไข “จุดอ่อน” เป็นอันขาด เพราะไม่มีประโยชน์อะไร ไม่มีใครที่ประสบความสำเร็จจากการมัวไปแก้ไขจุดอ่อน มีแต่คนที่พัฒนาจุดแข็งเท่านั้นที่จะประสบความสำเร็จได้ การจะค้นให้พบว่าเรามีจุดแข็งอะไรนั้น
Read More
สมอง
ทฤษฏีขนมปังหน้าคว่ำ ความรู้สึกการจดจำและทฤษฏีสถิติ 1. ทฤษฏีขนมปังหน้าคว่ำ เกิดจากการที่มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่า เมื่อไรที่ท่านเอาขนมปังแผ่น มาทาแยมไว้ด้านหนึ่ง เมื่อไรที่ขนมปังหล่นลงพื้น ขนมปังมักจะเอาหน้าที่ทาแยมลงพื้นเสมอ? การถกเถียงเรื่องแบบนี้ เกิดขึ้นบ่อยครั้งในชีวิตประจำวัน ยกตัวอย่างว่า ถ้าเป็นท่าน ท่านคิดว่าทฤษฏีนี้จริงหรือไม่??!!! จริง!!!!… ถ้าท่านตอบแบบนี้ล่ะก็ ไปดูผลกัน สุดท้ายทฤษฏีที่ถกเถียงกันมากนี้ ได้มีการพิสูจน์ โดยนำขนมปังทาแยม มาทดสอบโดยการโยนเป็นจำนวนกว่า 10,000 ครั้ง เพื่อเก็บข้อมูลทางสถิติว่า ความเป็นจริงที่คนเข้าใจว่า ขนมปังมักเอาหน้าที่ทาแยมลงพื้นนั้น จริงหรือไม่ ผลจากการทดลองทางสถิติปรากฏว่า
Read More
สมอง
ศักยภาพในการจดจำของมนุษย์ สร้างนกแก้วนกขุนทองให้เป็นพญาอินทรีย์ที่ยิ่งใหญ่ แรงจูงใจในการเขียนบทความฉบับนี้ เกิดขึ้นหลังจากที่ผมได้มีโอกาสเข้ารับการฝึกอบรม ในหลักสูตร “เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพความจำ ๓๐๐%” [๑]ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ท่านวิทยากรผู้สอนได้รับการถ่ายทอดมาจาก Mr. Ron White – World#๑ Memory Expert and USA Memory Champion ๒๐๐๙ เป็นแนวทางที่ชาวกรีกเริ่มฝึกใช้กันมาตั้งแต่ปี ค.ศ.๔๗๗ ปัจจุบันเรียกกันว่า Einstein memory step [๒] หลักสูตรนี้ทำให้ผมนั้นเกิดความทึ่งในศักยภาพของมนุษย์และเป็นบทพิสูจน์หนึ่งที่สอดคล้องกับความเชื่อของผมเสมอมาว่า
Read More
อัจฉริยะสร้างได้
อัตราการจดจำที่เกิดจากการเรียนรู้ อัตราการจดจำของมนุษย์ขึ้นอยู่กับกิจกรรม และประสบการณ์ที่ผู้เรียนได้รับรู้ อัตราการจดจำที่เกิดจากการเรียนรู้ ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนของครูผู้สอนหลายๆคนมักบ่นว่า…..ทำไมนะ… เรื่องนี้สอนไม่รู้กี่ครั้งกี่เที่ยวแล้วเด็กจดจำไม่ได้สักที…ขอเสนอแนะ…. ขอให้คุณครูกลับมาสำรวจวิธีการสอนของตัวเองสักนิดจะดีไหมแล้วค่อยมาสรุปว่าจะใช้วิธีการสอนบบใดดี จึงจะเหมาะสมกับกิจกรรมที่ครูกำหนดไว้เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้และจดจำได้อย่างฝังแน่น..ที่เป็นเช่นนี้ เพราะอัตราการจดจำของมนุษย์เรานั้นพอจะสรุปได้ว่าอัตราการจดจำของมนุษย์ที่เกิดจากการเรียนรู้ ขึ้นอยู่กับกิจกรรมและประสบการณ์ต่างๆที่ผู้เรียนได้รับรู้ซึ่งสามารถลำดับอัตราการจดจำ ของมนุษย์จากน้อยไปหามากได้ดังนี้ อัตราการจดจำ (ร้อยละ) กิจกรรมและประสบการณ์ 5 การฟังอาจารย์สอน (Lecture) 10 การอ่าน 15 การเห็นภาพ 20-26 การได้ยิน และการเห็นภาพ 30
Read More
อัจฉริยะสร้างได้
แบบของการจดจำของมนุษย์กับกระบวนการเรียนรู้ โดย ผศ.ดร. สมชาย ธนสินชยกุล โครงการวิทยาศาสตร์ท้องถิ่น (สกว.) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในธรรมชาตินั้น ไม่ให้โอกาสใครเลยที่จะหยุดการติดตามการเปลี่ยนแปลงของโลกและอวกาศ ยิ่งเมื่อตามสืบสอบค้นหาความจริงของการเปลี่ยนแปลงเป็นวงกว้างมากเท่าใด ก็จะพบว่าไม่มีที่ใดเวลาใดที่จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลย การเปลี่ยนแปลงกับการรับรู้ของมนุษย์ที่เฝ้าติดตามเกี่ยวพันกันด้วยคำว่า “วิทยาศาสตร์” จึงเป็นภาพเหตุการณ์อันต่อเนื่องยิ่งเสริมสร้างให้เกิดสิ่งที่เรียกว่า “การเรียนรู้” มีการสืบสอบ ค้นคว้า ทดลองแล้วก็จดจำ บันทึก พร้อมทั้งการสื่อสารในทุกรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน แต่อย่างไรก็ตามเป็นที่น่าสังเกตว่าความเข้าใจของมนุษย์ที่ได้รับฟังข้อมูลสิ่งเดียวกันในเวลาเดียวกันและจากบุคคลเดียวกัน ทำไมมนุษย์แต่ละบุคคลจึงมีความเข้าใจไม่เหมือนกัน และเมื่อเวลาผ่านไปเนิ่นนานมากขึ้นเท่าใดยิ่งเห็นความแตกต่างของการจดจำของบุคคลเหล่านั้น หรือในเวลาหนึ่งความจำเหล่านั้นอาจเลือนหายไปจนหมดสิ้น ตรงกันข้ามกับการจดจำแบบหนึ่งที่มนุษย์เก็บเอาการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ที่ใกล้ตัว โดยที่กระทบต่อความเป็นตัวตนของตนอย่างมากหรือมากที่สุดตามเส้นทางการดำเนินชีวิต และรวบเอาอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดผนวกเข้ากับเหตุการณ์นั้นแล้วจัดเก็บไว้เป็น ..ความทรงจำ
Read More
Posts navigation