Category: นักเศรษฐศาตร์

เรื่องลับนักเศรษฐศาสตร์

เรื่องลับนักเศรษฐศาสตร์ คอลัมน์ มองซ้ายมองขวา โดย ปกป้อง จันวิทย์ ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3821 (3021) คุณสฤณี อาชวานันทกุล เจ้าของคอลัมน์ “ล่องคลื่นโลกาภิวัตน์” ของหนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ และ “คนชายขอบ” ของเว็บไซต์โอเพ่นออนไลน์ (www.onopen.com) กรุณาแบกหามหนังสือหนึ่งถุงใหญ่มาให้ผมยืมอ่านเมื่อปลายเดือนก่อน หนึ่งในนั้นเป็นหนังสือที่ผมอ่านด้วยความเพลิดเพลินบันเทิงใจเป็นอย่างยิ่ง
Read More

นักวิชาการเศรษฐศาสตร์ ชื่อ ไกรยุทธ ธีรตยาคีนันท์

นักวิชาการเศรษฐศาสตร์ ชื่อ ไกรยุทธ ธีรตยาคีนันท์ คอลัมน์ ดุลยภาพดุลยพินิจ โดย นวพร เรืองสกุล มติชนรายวัน วันที่ 06 กันยายน พ.ศ. 2549 ปีที่ 29 ฉบับที่ 10406 ย้อนกลับไปเมื่อกันยายน 2545 คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดพิมพ์งานเขียนของ ศาสตราจารย์ ดร.ไกรยุทธ ธีรตยาคีนันท์ ออกมาเป็นหนังสือ
Read More

สมิธกับฟรีดแมน

สมิธกับฟรีดแมน บ้านเขาเมืองเรา : ดร. ไสว บุญมา กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 08 ธันวาคม พ.ศ. 2549 คอลัมนิสต์ทางเศรษฐกิจทั่วโลกต่างพากันเขียนถึงมิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) หลังเขาเสียชีวิตเมื่อปลายเดือนที่แล้ว ด้วยความปราดเปรื่องถึงขั้นได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์และอายุที่ยืนยาวถึง 94 ปี มิลตัน ฟรีดแมนมีอิทธิพลสูงสุดคนหนึ่งในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา เขาเป็นหนึ่งในเสาหลักของนักเศรษฐศาสตร์สำนักชิคาโก (Chicago School of
Read More

KEYNES AND I

KEYNES AND I Boonserm Booncharoenpol John Maynard Keynes (อ่านว่า เคนส์-Canes) ผู้เป็นบิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์มหภาค มี ประวัติที่น่าสนใจดังนี้ 1 “ อาจารย์เคนส์ เป็นชาวอังกฤษโดยกำเนิด เกิดเมื่อ 5 มิถุนายน ค.ศ.1883 ที่เมืองเคมบริดจ์ (Cambridge) ประเทศอังกฤษ สิ้นชีวิตเมื่อ 21 เมษายน ค.ศ.
Read More

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (8)

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (8) วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2530 อาจารย์ป๋วยเดินทางกลับมาเมืองไทยหลังจากที่ต้องออกจากบ้านเกิดไป เมื่อเหตุการณ์ 6 ตุลา เป็นครั้งแรก พร้อมด้วยภรรยา ลูกชาย ลูกสะใภ้และหลานอีกสองคน มีบรรดาเพื่อนๆ ลูกศิษดิ์และคนรู้จักมากมายมาพบปะ เยี่ยมเยือนที่บ้านเก่าซอยอารีย์ วันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2530 ที่ธนาคาร แห่งประเทศไทย พนักงานประมาณ 2,000
Read More

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (7)

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (7) วันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ.2519 กลุ่มบุคคลในเครื่องแบบและกลุ่มกระทิงแดงได้ทำการปิดล้อมและใช้อาวุธยิง ถล่มเข้าไปในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยไม่สนใจต่อขอร้องของผู้ชุมนุมภายในที่ต้องการเจอรจาโดยสันติ มีผู้ชุมนุมบาดเจ็บ และล้มตายเป็นจำนวนมาก นักศึกษาบางคนถูกจับแขวนคอ บางคนถูกเผาทั้งเป็นและผู้หญิง บางคนถูกข่มขืนจนถึงแก่ความตาย เวลา 10.00 น. อาจารย์ป๋วยออกแถลงการณ์ลาออกในที่ประชุมสภา มหาวิทยาลัยเพื่อแสดงความเสียใจต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ที่มีคนจำนวนมากบาดเจ็บและล้มตายภายในมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของท่าน สภามหาวิทยาลัยได้ให้อาจารย์ป๋วยเดินทางออกนอกประเทศ เนื่องจากฝ่ายขวากำลังล่าตัวอาจารย์ป๋วย ในเวลาเย็นวันนั้นเกิดรัฐประหารขึ้นโดยพลเรือเอกสงัด ชลออยู่
Read More

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (6)

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (6) ปี พ.ศ.2516 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์กำลังครบวาระ และยืนยันว่าจะไม่ รับตำแหน่งต่อ อาจารย์และนักศึกษาได้มีประชามติให้อาจารย์ป๋วยเป็นอธิการบดีคนต่อไป ในระหว่างวันที่ 9-18 กุมภาพันธ์ อาจารย์ป๋วยได้เดินทางกลับมาเมืองไทย ได้เข้าพบจอมพลถนอม กิตติขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร อาจารย์ป๋วยได้ถามผู้มีอำนาจทั้งสองว่า จะขัดข้องไหมถ้าหากท่าน จะเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ก็ได้รับคำตอบว่า ไม่ต้องการให้รับตำแหน่ง เพราะกลัวว่า
Read More

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (5)

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (5) สิงหาคม พ.ศ.2508 ดร.ป๋วยได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในคำประกาศเกียรติประวัติ มีข้อความตอนหนึ่งว่า “บุคคลสำคัญผู้แสดงบทบาทอยู่เบื้องหลังความสำเร็จของธนาคารแห่งประเทศไทย ในการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยมีเสถียรภาพการเงินควบคู่กันไป นายธนาคารระหว่างประเทศยกย่องว่า นายป๋วยเป็น ผู้ว่าการธนาคารกลางที่มีความสามารถดีเด่นคนหนึ่งของโลก … การกระทำของนายป๋วยยังเป็น แรงบันดาลใจ สำหรับข้าราชการผู้ขยันขันแข็ง นายป๋วยผู้ถือได้ว่า ความเรียบง่ายคือความงามและ ความชื่อสัตย์สุจริต คือคุณความดีสูงสุดของชีวิตข้าราชการ เป็นหลักรประจำในซึ่งยึดถือมาช้านาน และได้เผยแพร่กับเพื่อนร่วมงาน
Read More

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (4)

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (4) ปี พ.ศ.2502 จอมพลสฤษดิ์ทำรัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง จอมพลสฤษดิ์มีชื่อเสีย ไม่ดีหลายด้านแต่ ข้อเด่นคือ การเลือกใช้คน จอมพลสฤษดิ์ได้ให้ดร.ป๋วยกลับเมืองไทยเข้ามา ช่วยงาน ต่อมาเมื่อนายโชติ คุณะเกษม ลาอกจากรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการคลัง จอมพลสฤษดิ์ได้โทรเลขไปถึง ดร.ป๋วยซึ่งกำลัง ประชุมคณะรัฐมนตรีดีบุก โลกที่กรุงลอนดอน เสนอให้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การคลัง แต่ดร.ป๋วยปฏิเสธไปว่า ไม่ขอรับตำแหน่งนี้ เพราะเมื่อตอนเข้าเป็นเสรีไทย ได้สาบานไว้ว่า
Read More

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (3)

ชีวประวัติ อาจารย์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ (3) ปี พ.ศ.2491 ป๋วยได้เรียนสำเร็จปริญญาเอกโดยใช้เวลาสามปีทำวิทยานิพนธ์ “เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการ ควบคุมดีบุก” แต่เนื่องจากสถานการณ์ภายในประเทศไทย นายปรีดี พนมยงค์ถูกทหารทำรัฐประหาร ทำให้ สถานการณ์ไม่ปลอดภัย ทางญาติของให้ป๋วยยังไม่ต้องรีบกลับมา ปี พ.ศ.2492 ดร.ป๋วยก็เดินทางกลับประเทศไทย บริษัทห้างร้านต่างๆจำนวนมาก ทั้งในและนอกประเทศ ต้องการตัวดร.ป๋วยไปทำงานโดยเสนอให้เงินเดือนสูงๆ แต่ในที่สุด ด.ร.ป๋วยก็เลือกที่จะรับราชการ เนื่องจากถือว่า ตนเองนอกจากจะเกิดเมืองไทย กินข้าวไทยแล้ว ยังได้รับทุนเล่าเรียนรัฐบาลไทย
Read More