Category: นักวิทยาศาสตร์
นักวิทยาศาสตร์
อังตวน แวน เลเวนฮุค : Anton Van Leeuwenhook เกิด วันที่ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1632 ที่เมืองเดลฟท์ (Delft() ประเทศเนเธอร์แลนด์ (Netherlands) เสียชีวิต วันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1723 ที่เมืองเดลฟท์ (Delft() ประเทศเนเธอร์แลนด์ (Netherlands) ผลงาน
Read More
นักวิทยาศาสตร์
Wolfgang Ernst Pauli อัจฉริยะ ?ทายาท? ของไอน์สไตน์ Wolfgang Ernst Pauli .E. Pauli เกิดที่กรุง Vienna ในออสเตรียเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2443 ได้เข้าศึกษาชั้นมัธยมที่โรงเรียน Doblingen Gymnasium ใน Vienna เมื่ออายุ 16 ปี ได้อ่านผลงานของ Einstein
Read More
นักคิด
โสเครตีส เรื่องราวชีวิตของโสเครตีสในประวัติศาสตร์มีน้อยมาก จำเป็นต้องประมวลเอามาจากข้อความในบท สนทนาของเพลโตผู้เป็นทั้งเพื่อนและลูกศิษย์ของเขา โสเครตีสเกิดเมื่อ 2,500 ปีมาแล้ว เป็นชาวเอเธนส์โดยกำเนิดและใช้ชีวิตอยู่ในเอเธนส์ตั้งแต่เกิดจนตาย บิดาของโสเครตีสเป็นช่างสลักหิน ส่วนมารดาเป็นหมอตำแย ในวัยเยาว์โสเครตีสได้รับการอบรมทางศาสนาเหมือนเด็กกรีกอื่นๆ พอย่างเข้าสู่วัยหนุ่มเขาได้เสวนา กับนักปราชญ์สำคัญ 2 คน คือ ปาร์มีนิดีสกับเซโน โสเครตีส คงได้ฝึกฝนวิชาสลักหินจากบิดาอยู่บ้าง แต่คงไม่ชอบทางด้านนี้จึงหันมาสนใจปรัชญาอย่างจริงจัง เพื่อนำมาปฏิบัติในชีวิตจริง คำว่า ‘ ปรัชญา ‘ ในสมัยนั้น หมายถึงการค้นหาคำตอบในสิ่งที่ยังไม่มีใครคิดขึ้นมาก่อน รวมทั้งปัญหาต่าง
Read More
นักคิด
ข้อคิดจากอริสโตเติล กับรูปแบบการปกครองในปัจจุบัน คนแคระบนบ่ายักษ์ แพทย์ พิจิตร มติชนรายสัปดาห์ วันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2550 ปีที่ 27 ฉบับที่ 1393 ในความความเข้าใจของอริสโตเติล ประชาธิปไตยที่มีคนชั้นกลางเป็น “คนส่วนใหญ่” เป็นรูปแบบการปกครอง ที่ดีกว่าประชาธิปไตย ที่ดำเนินไปในสังคมคนส่วนใหญ่เป็นคนจน หรือสังคมที่มีการแบ่งขั้วชนชั้นเป็น คนรวย-คนจนที่แตกต่างกันมาก และที่สำคัญ อริสโตเติลไม่เรียกรูปแบบการปกครองที่อำนาจอยู่ในมือของคนส่วนใหญ่ ที่เป็นคนชั้นกลางว่า “democracy” เพราะนั่นเขาสงวนไว้เรียกประชาธิปไตยที่อำนาจอยู่ในมือของคนส่วนใหญ่ที่ยากจนเท่านั้น
Read More
นักวิทยาศาสตร์
วิถีขบถในชีวิตไอน์สไตน์ บทความพิเศษ ธีรยุทธ บุญมี มติชนสุดสัปดาห์ วันที่ 08 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปีที่ 25 ฉบับที่ 1299 ชีวิตของไอน์สไตน์จากเด็กยากจน มาเป็นบุรุษที่มีชื่อเสียงก้องโลกที่สุดในหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมา และอาจจะยังอยู่สืบไปอีกหลายศตวรรษ ฟังดูแล้วคล้ายเป็นเทพนิยาย แต่ในชีวิจริงของไอน์สไตน์มีช่วงของความทุกข์ยากตกต่ำ การดิ้นรนต่อสู้ อันตราย การคุกคามจนถึงขั้นชีวิต แรงกดดันทั้งชีวิตการงานและความผิดพลาดทั้งหนักและเบา ไอน์สไตน์เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 1879 ในเมือง
Read More
นักวิทยาศาสตร์
วิธีคำนวณสูตร E=mc2 โดยคณิตศาสตร์ระดับมัธยม บทความพิเศษ ธีรยุทธ บุญมี มติชนรายสัปดาห์ วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ปีที่ 25 ฉบับที่ 1297 การค้นพบที่มีชื่อเสียงที่สุดคือสมการ E=mc2 ซึ่งไอน์สไตน์บอกกับเราว่า มวลสารกับพลังงานที่จริงเป็นสิ่งเดียวกัน ที่แสดงออกมาในรูปที่ต่างกัน หลักสัมพัทธ์ของไอน์สไตน์ที่บอกว่า สิ่งที่ผู้สังเกตทุกคนสังเกตได้ แม้จะอยู่ในสภาวะความเร็วที่ต่างๆ กันไป ล้วนเป็นความจริง ความถูกต้องทั้งสิ้น นี้แม้ฟังดูง่าย
Read More
นักวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะ บทความพิเศษ ธีรยุทธ บุญมี มติชนรายสัปดาห์ วันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ปีที่ 25 ฉบับที่ 1296 ไอน์สไตน์ยิ่งใหญ่ไม่ใช่เพราะสมการ E=mc2 แต่เป็นเพราะเป็นผู้เปลี่ยนกระบวนทัศน์เกี่ยวกับเวลาและอวกาศ จากคนอยู่เหนือจักรวาลมาเป็นส่วนหนึ่งของจักรวาล ปีนี้ครบรอบ 100 ปี การเสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพเฉพาะของไอน์สไตน์ ซึ่งไอน์สไตน์ค้นพบสำเร็จในเดือนมิถุนายน 1905 และตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์ของเยอรมันในเดือนกันยายนปีเดียวกัน ในโอกาสครบรอบ 100 ปีการค้นพบนี้จึงมีการยกย่องสรรเสริญผลงานไอน์สไตน์กันทั่วโลก
Read More
นักวิทยาศาสตร์
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ : William Harvey เกิด วันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1578 ที่เมืองฟอล์คสโตน (Flockstone) ประเทศอังกฤษ (England) เสียชีวิต วันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1657 ที่กรุงลอนดอน (London) ประเทศอังกฤษ (England) ผลงาน – ค้นพบระบบการไหลเวียนโลหิต
Read More
นักวิทยาศาสตร์
แซมมวล มอร์ส : Samuel Morse เกิด วันที่ 17 เมษายน ค.ศ. 1791 ที่รัฐแมสซาชูเซส (Massachusette) ประเทศสหรัฐอเมริกา (United State of America) เสียชีวิต วันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1872 ที่กรุงนิวยอร์ค (New York) ประเทศสหรัฐอเมริกา
Read More
นักวิทยาศาสตร์
จอร์จ เวสติงเฮาส์ : George Westinghouse เกิด วันที่ 6 ตุลาคม ค.ศ.1845 ที่รัฐนิวยอร์ค (New York) ประเทศสหรัฐอเมริกา (United State of America) เสียชีวิต วันที่ 12 มีนาคม ค.ศ.1914 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา (United State of America)
Read More
Posts navigation