Category: คนที่สังคมสนใจ
คนที่สังคมสนใจ
ดูโบอิส ต้นแบบการเรียนรู้อย่างมีอุดมการณ์ วันที่ : 3 พฤษภาคม 2551 นิตยสาร/หนังสือพิมพ์ : สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ ศ.ดร. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ศูนย์ศึกษาธุรกิจและรัฐบาล มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด หากจะกล่าวถึงชื่อของ ดูโบอิส (W.E.B. DuBois) ภาพลักษณ์ของนักเคลื่อนไหวทางการเมือง และนักเรียกร้องสิทธิแก่คนผิวสีของสหรัฐอเมริกา จะเป็นภาพเบื้องต้นที่หลายคนคิดถึง เนื่องจากตลอดชีวิตของเขา ได้ต่อสู้เรียกร้องสิทธิความเท่าเทียม และต่อต้านการเหยียดสีผิว เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งสมาคมแห่งชาติเพื่อความก้าวหน้าของคนผิวสี (National
Read More
คนที่สังคมสนใจ
ชีวประวัติ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล หากกล่าวถึงการปฏิบัติตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนึ่งท่านที่มักจะถูกเชื้อเชิญให้เป็นผู้บรรยาย ถ่ายทอดความเข้าใจได้อย่างลึกซึ้งจากประสบการณ์ในการถวายงานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คงจะเป็นใครไปไม่ได้ นอกเสียจาก “ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล” ผู้มีปรัชญาในการดำรงชีวิตที่น่าสนใจ คือ ทำเพราะต้องการทำ ทำเพราะเต็มใจ ทำเพราะมีความสุขที่ทำ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เกิดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2482 เป็นชาวจังหวัดเพชรบุรี บิดาคือ นายอารีย์ ตันติเวชกุล อดีตส.ส.นครราชสีมา
Read More
คนที่สังคมสนใจ
สามหญิง บ้านเขาเมืองเรา : ดร.ไสว บุญมา กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ในช่วงนี้มักมีการอ้างถึง “นายหญิง” เสมอ แต่ไม่มีใครฟันธงลงไปว่าเธอเป็นใคร ในบริบทของการอ้างถึง เธอน่าจะเป็นภรรยา ของผู้มีอำนาจบริหารบ้านเมืองระดับสูงมาก นอกจากจะมีอิทธิพลต่อการทำงานของสามีแล้ว เธอยังดูจะมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์บ้านเมืองโดยทั่วไปอีกด้วย ทุกครั้งที่สื่ออ้างถึงนายหญิง ผมมักนึกถึงสามหญิง ซึ่งผมเรียนรู้จากการเฝ้าดูความเป็นไปในสามประเทศ จึงขอนำมาเล่าคร่าวๆ สู่กันวันนี้เผื่อบางทีมันจะสะกิดใจคนไทยบ้าง คนที่มีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดได้แก่ อีวา เปรอง
Read More
คนที่สังคมสนใจ
สามชาย บ้านเขาเมืองเรา : ดร.ไสว บุญมา กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2548 เมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมเขียนเกี่ยวกับสามหญิง เพื่อความเท่าเทียมกันวันนี้จึงขอเขียนเกี่ยวกับสามชายบ้าง ชายสามคนนี้มีความเหมาะสมอย่างยิ่ง ที่จะได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ คนแรกได้แก่ บิล เกตส์ อภิมหาเศรษฐีหมายเลข 1 ของโลก ขอเรียนว่าผมไม่ได้ยกย่อง บิล เกตส์ เพราะเขาเป็นอภิมหาเศรษฐี หรือผมมีส่วนได้ส่วนเสียจากกิจการของเขา โดยเฉพาะในด้านการกุศลซึ่งผมเห็นว่า เป็นปัจจัยที่ควรจะทำให้เขา
Read More
คนที่สังคมสนใจ
มาร์แชล โกลด์สมิธ,เพียงเอ่ยคำว่า “ขอบคุณ” การตะคอกคนที่ตักเตือนคุณด้วยความหวังดีเป็นการดูถูกตัวตัวเองมากกว่าดูถูกคนอื่น ใยจึงไม่เพียงรู้สึกขอบคุณเขา เราได้อะไรจากการพิสูจน์ว่าตัวเองถูกหรือไม่ คำตอบคือไม่เลย เราได้อะไรจากการพิสูจน์ว่าคนอื่นผิดหรือไม่ คำตอบคือไม่เลย แล้วชีวิตเราเสียเวลาไปมากแค่ไหนกับการกระทำทั้งสองอย่าง คำตอบคือเสียเวลาไปมากเกินความจำเป็นแล้ว พระพุทธเจ้าทรงสอนชาวพุทธไว้ว่าจงทำในสิ่งที่พระองค์แนะนำหากเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับการดำเนินชีวิตของตน หรือจะพูดอีกอย่างก็คือ ถ้ามันเหมาะกับเราก็ทำเลย แต่ถ้ามันไม่เหมาะก็ไม่ต้องสนใจ ปฏิกิริยาโดยธรรมชาติของคนเราเมื่อคนอื่นให้คำแนะนำในสิ่งที่เราไม่เห็นด้วย คือ เราจะต่อต้านและพยายามพิสูจน์ว่าเขาผิด ส่วนปฏิกิริยาโดยธรรมชาติของเราเมื่อมีคนให้คำแนะนำที่เราเห็นด้วย เราก็จะพยายามแสดงให้เห็นว่าเรา “รู้อยู่แล้ว” ซึ่งแฝงนัยว่าคำแนะนำที่ให้มานั้นไม่จำเป็น แต่ต่อไป หากมีใครให้แนวคิดหรือข้อเสนอแนะอะไร จงฟังโดยปราศจากอคติ พยายามมองหาคุณค่าสิ่งที่คุณได้ยิน แล้วจึงพูด “ขอบคุณ”
Read More
คนที่สังคมสนใจ
Brian Tracy ช่วยเปลี่ยนชีวิต โดย วรากรณ์ สามโกเศศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มติชนรายวัน วันที่ 09 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ปีที่ 29 ฉบับที่ 10197 เมื่อเอ่ยชื่อ Brian Tracy ในบ้านเรา เฉพาะคนที่อยู่ในวงการที่สนใจการพัฒนาตนเอง ความสำเร็จในธุรกิจ และชีวิตเท่านั้นที่อาจรู้จัก แต่ถ้าบอกว่าเป็นคนเขียนหนังสือชื่อ Eat That Frog,
Read More
คนที่สังคมสนใจ
มองปัญหาด้วยโลกทัศน์เชิงบวก วันที่ : 4 ตุลาคม 2550 นิตยสาร/หนังสือพิมพ์ : งานอัพเกรด วิคเตอร์ แฟรงเคิล เป็นหนึ่งในชาวยิวที่ถูกจับไปอยู่ในค่ายกักกันนาซีที่ดาเกา กล่าวว่า ในค่ายกักกันนั้นพวกผู้คุมได้ปล้นเอาทุกอย่างไปจากเขา ทั้งความเป็นตัวตนของเขา เอาภรรยาของเขาไป เอาครอบครัว เสื้อผ้า และแม้กระทั่งเอาแหวนแต่งงานของเขาไป แต่มีอยู่อย่างหนึ่งที่ไม่มีใครเอาจากเขาไปได้ โดยวิคเตอร์ได้กล่าวไว้ในหนังสือเล่มหนึ่งว่า “สิ่งสุดท้ายในเสรีภาพของมนุษย์ก็คือ ความสามารถที่จะเลือกทัศนคติของตนในสถานการณ์ที่เผชิญอยู่” “ปัญหา”
Read More
คนที่สังคมสนใจ
ฮาร์วาร์ด คริมสัน ประสบการณ์เรียนรู้นอกห้องเรียน วันที่ : 7 มีนาคม 2551 นิตยสาร/หนังสือพิมพ์ : สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ เดอะ ฮาร์วาร์ด คริมสัน (The Harvard Crimson) เป็นหนังสือพิมพ์ประจำมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ที่มีอายุยาวนานถึง 135 ปี (ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1873) และเป็นหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นฉบับเดียวของเมืองเคมบริดจ์
Read More
คนที่สังคมสนใจ
ภาษา สื่อสาร ประสบการณ์สร้างอีเลียต วันที่ : 6 พฤษภาคม 2551 นิตยสาร/หนังสือพิมพ์ : สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ นักเขียนชื่อก้องโลกนาม ที เอส อีเลียต (Thomas Stearns Eliot: T.S. Eloit) ผู้คว้ารางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ.1948 ซึ่งคนไทยหลายคนคุ้นเคยผลงานอันเป็นอมตะของเขา อย่างเช่น The
Read More
คนที่สังคมสนใจ
อัล กอร์ กรณีศึกษาของผู้เรียนค้นพบตนเอง วันที่ : 10 เมษายน 2551 นิตยสาร/หนังสือพิมพ์ : สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ อัล กอร์ (Albert A Gore, Jr.) นับเป็นศิษย์เก่าฮาร์วาร์ดคนล่าสุดที่ได้รับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 2007 ผ่านการรณรงค์และเผยแพร่องค์ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
Read More