Category: Production/Operation

วาง KPI วัดประสิทธิภาพผลิต

วาง “KPI” วัดประสิทธิภาพผลิต บริษัท เอ เอช ที (เอเซีย) จำกัด บริษัทร่วมทุนระหว่างออสเตรีย-ไทย ผู้ผลิตและจำหน่ายตู้แช่แข็ง (freezer) ตู้แช่เย็น (chiller) และน้ำแข็งเทียม จำหน่าย ถือเป็นหนึ่งในบริษัทที่เติบโตก้าวกระโดดอย่างรวดเร็ว ด้วยวิสัยทัศน์ และฝีมือชั้นเซียนทางด้านการขายของ ประชา ประคุณศึกษาพันธ์ กรรมการผู้จัดการ ส่งผลให้บริษัทเอ เอช ที (เอเซีย) ใช้เวลาเพียง 6
Read More

การควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ

การควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ การควบคุมภายในเกี่ยวกับ สินค้าคงเหลือพิจารณาได้ ดังนี้ 1. มีการทำบัญชีคุมสินค้าแบบต่อเนื่องสำหรับสินค้าทุกชนิด (ลงรายการทุกครั้งที่มีการรับจ่าย) 1.1 วัตถุดิบ 1.2 งานระหว่างทำ 1.3 สินค้าสำเร็จรูป 1.4 อะไหล่/วัสดุคงเหลือ 2. การซื้อทุกชนิด ได้มีหน่วยงานหรือคณะกรรมการที่ทำหน้าที่ในการตรวจ ตรวจรับสินค้า แยกจากแผนกจัดซื้อ แผนกคลังสินค้า และแผนกบัญชี 3. ได้มีการออกใบรับสินค้า ซึ่งมีหมายเลขพิมพ์เรียงลำดับไว้โดยมีสำเนาส่งไปที่ต่างๆดังนี้ 3.1 แผนกคลังสินค้า
Read More

การตรวจสอบมาตรฐานสินค้า

การตรวจสอบมาตรฐานสินค้า การตรวจสอบมาตรฐานสินคขั้นตอนสุดท้ายก่อนการส่งออก เพื่อยืนยันความถูกต้องทั้ง คุณภาพและจำนวนสินค้าที่มีการสั่งซื้อและส่งมอบถึงมือลูกค้า การตรวจสอบมาตรฐานสินค้า เป็นหน้าที่ของ “คนกลาง” ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย มีฐานะเป็นผู้ตรวจสอบอิสระ (independent inspecter) ที่จะต้องดำเนินงานด้วยจริยธรรมแห่งวิชาชีพ (professional ethics) เพื่อสร้างความเป็นธรรมทั้ง 2 ฝ่าย มีขอบ เขตการดำเนินงานโดยสรุป คือ 1. ตรวจสอบสินค้าจากผู้ส่งออกในประเทศให้ได้มาตรฐาน ตามความต้องการของผู้ซื้อ และข้อตกลงส่งมอบสินค้าที่กำหนด ไว้ใน LC ระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขาย
Read More

การบริหารคุณภาพ

การบริหารคุณภาพ ความหมายของคุณภาพ (Defining Quality) “คุณภาพ (Quality)” ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคุณภาพหลายท่านได้ให้ความหมายซึ่งพอสรุปได้ดังต่อไปนี้ คือ เป็นการดำเนินงานให้เป็นไปตามข้อกำหนดที่ต้องการ โดยคำนึงถึงการสร้างความพอใจให้กับลูกค้า และมีต้นทุนการดำเนินงานที่เหมาะสม ลักษณะของผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ (Quality in Goods) – การปฏิบัติงานได้ (Performance) ผลิตภัณฑ์ต้องสามารถใช้งานได้ตามหน้าที่ที่กำหนดไว้ – ความสวยงาม (Aesthetics) ผลิตภัณฑ์ต้องมีรูปร่าง ผิวสัมผัส กลิ่น รสชาติ และสีสันที่ดึงดูดใจลูกค้า –
Read More

ระบบบริหารคุณภาพ

ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System : QMS) ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System) หรือ QMS เป็นระบบการบริหารจัดการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดำเนินงานตามภารกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กร เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ระบบบริหารคุณภาพมีหลายระบบ ได้แก่ ระบบ Input-Process-Output-Outcome (IPOO) ระบบ Total Quality Management (TQM) และระบบ ISO ระบบบริหารงานคุณภาพเกี่ยวข้องกับผู้ผลิตและผู้บริโภค
Read More

โลกใบเล็ก : ศิลปินน้ำหอม

โลกใบเล็ก : ศิลปินน้ำหอม เป็นที่รู้กันว่า โรงงานผลิตเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ชื่อดังทุกแห่ง จะต้องมีนักชิมเหล้าหรือนักชิมไวน์ เป็นผู้ทำหน้าที่ควบคุมรสชาติให้ได้คุณภาพสม่ำเสมอ คนเหล่านี้ยังทำหน้าที่คิดค้นเครื่องดื่มรสชาติใหม่ ๆ ด้วย อาชีพนี้ใช้ลิ้นชิมรส ใช้จมูกดมกลิ่น ในวงการน้ำหอมก็มีคนทำหน้าที่ดังว่าเช่นกัน เรียกว่า นักปรุงน้ำหอม ฌอง คลาวด์ เอลลีนา นักปรุงน้ำหอมชื่อดังแห่งปารีส กล่าวว่า อาชีพสร้างกลิ่นต้องใช้สมาธิสูงมาก ถึงขนาดเวลานอนยังฝันถึงกลิ่นหอม บางคืนผมต้องลุกขึ้นมาเดินรอบ ๆ สวนหน้าบ้าน เพื่อให้เลิกฟุ้งซ่านเรื่องกลิ่นต่าง ๆ เอลลีนาเป็น
Read More

Productivity Facilitator: Show Case

Productivity Facilitator: Show Case โครงการสร้างบุคลากรด้านการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพภายในองค์กร (Productivity Facilitator) ปี พ.ศ. 2551 ได้ปิดลงไปอย่างสวยงามด้วยผลสำเร็จขององค์กรต้นแบบทั้ง 20 องค์กร และมีการเปิดโครงการใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2552 ตามมาติด ๆ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง ฉบับนี้ขอเริ่ม Show case ด้วย องค์กรต้นแบบดีเด่นในกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งได้รับรางวัลทีมงานดีเด่นพ่วงไปด้วย สมกับความมุ่งมั่นตั้งใจของทีมงานที่ฟันฝ่าอุปสรรคต่าง ๆ
Read More

การปฏิบัติงานกับเครื่องจักร (Machine Operation) ให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด

การปฏิบัติงานกับเครื่องจักร (Machine Operation) ให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด “อะไรกัน ส่งงานไม่ทันอีกแล้วเหรอ ?” ลูกค้าตะโกนลั่นด้วยความโมโห “ขอโทษครับ วันนี้ผมส่งงานไม่ได้ตามเวลา เนื่องจากเครื่องจักรของผมมีปัญหา ตอนนี้กำลังแก้ไขอยู่ เดี๋ยวผมจัดรถส่งรอบพิเศษให้นะครับ ต้องขอโทษด้วยจริงๆ” ผู้จัดการฝ่ายผลิต ตอบกลับด้วยน้ำเสียงเศร้าสร้อย เครื่องจักร (Machine) ถือเป็นหัวใจที่สำคัญในการปฏิบัติงาน ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่พวกเราทุกคนต้องให้ความสำคัญ และใส่ใจในการดูแลรักษาให้เครื่องจักรสามารถใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ปฏิบัติงานหรือพนักงานฝ่ายผลิตนั่นเอง เพื่อป้องกันการเกิดความสูญเปล่า เช่น ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม ค่าใช้จ่ายในการแก้ไขงาน (Rework)
Read More

Benchmarking : วิธีพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร

Benchmarking : วิธีพัฒนาประสิทธิภาพองค์กร จากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน ผู้แข่งขันหน้าใหม่เกิดขึ้นมากมายในแต่ละวัน ทั้งคู่แข่งขันภายในประเทศและต่างประเทศ ที่มีความพร้อมทั้งด้านความรู้ เทคโนโลยี และเงินทุน ดังนั้น ผู้ประกอบการจะต้องพัฒนาปรับปรุงตนเองอยู่เสมอ เพื่อให้มีความสามารถทางการแข่งขัน ในสภาวะการณ์ของโลกที่ไร้พรมแดน และมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หากแม้เพียงหยุดนิ่ง ผู้ประกอบการก็อาจล้าสมัยได้ในชั่วพริบตา การทำ Benchmarking เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรเกิดการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการทำงาน โดยทำให้องค์กรรู้จักตัวเอง วิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยขององค์กรว่าเป็นอย่างไร อยู่ที่ใด “การทำ Benchmarking มีองค์ประกอบสำคัญอยู่ 2 ส่วน คือ
Read More

การวิเคราะห์ปัญหาและวิธีการแก้ไขอุบัติเหตุ

การวิเคราะห์ปัญหาและวิธีการแก้ไขอุบัติเหตุ การหลีกเลี่ยงความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุที่ดีที่สุดคงไม่พ้นการวางแผนป้องกันเหตุต่างๆไว้ล่วงหน้า โดยการพยายามประเมินความเป็นไปได้ของการเกิดเหตุร้ายทั้งหมดไว้ กำหนดให้เห็นสาเหตุของการเกิดเหตุร้ายเหล่านั้น จากนั้นก็ลงมือทำการกำจัดสาเหตุของเหตุร้ายเหล่านั้น เมื่อทำเช่นนี้ได้โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุก็จะลดลงไปอย่างมหาศาล แต่การจะได้มาซึ่งเหตุร้ายที่เป็นไปได้ทั้งหมด พร้อมทั้งสาเหตุ รวมไปถึงการสร้างสรรค์วิธีการกำจัดและป้องกันเหตุนั้นดูจะเป็นเรื่องที่เหลือบ่ากว่าแรงอยู่ไม่น้อย แต่อย่างไรก็ตามก็ถือเป็นความจำเป็นและชาญฉลาดกว่าที่จะตั้งหน้ารอคอยปัญหาและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าไปตลอด ดังนั้นเครื่องมือที่จะช่วยในการวิเคราะห์ปัญหาและค้นหาวิธีการแก้ไขอุบัติเหตุจึงถือเป็นสิ่งที่องค์กรควรจะต้องมีและทดลองฝึกฝน ทยอยใช้กับงานหรือกระบวนการทั้งหลายขององค์กรโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับงานหรือกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงและมีความรุนแรงของอุบัติเหตุ เพื่อกันเหตุร้ายอันพึงจะเกิดขึ้นได้ การวิเคราะห์สภาพอันตราย สามารถทำได้หลายวิธี แต่วิธีที่นิยมกันได้แก่ 1. การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JOB SAFETY ANALYSIS, JSA) และ 2. แผนภูมิต้นไม้ (FAULT TREE ANALYSIS
Read More