Category: Logistics & Supply Chain

AEC : FTA กับการเจรจาเปิดเสรีภาคบริการด้านโลจิสติกส์

AEC : FTA กับการเจรจาเปิดเสรีภาคบริการด้านโลจิสติกส์  เป็นที่ทราบดีอยู่ว่าโลจิสติกส์จะเกี่ยวข้องอยู่กับด้านการให้บริการขนส่ง คิดเป็นต้นทุนประมาณ 1 ใน 3 ของค่าใช้จ่ายด้านโลจิสติกส์ทั้งหมด ดังนั้น ภาคการขนส่งจึงมีบทบาทและมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม , การค้า , การท่องเที่ยว มีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ธุรกิจและสังคม โดยภาครัฐและเอกชนต่างให้ความสนใจต่อการพัฒนาบริการขนส่ง ซึ่งถือเป็นสิ่งหนึ่งของโลจิสติกส์ เพื่อที่จะลดต้นทุนการผลิตเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันทั้งของภาคธุรกิจและของประเทศ การที่รัฐบาลได้มีนโยบายในการจัดทำเขตการค้าเสรีระดับทวิภาคี ซึ่งได้มีนโยบายในการให้ผู้ประกอบการต่างชาติให้สามารถเข้ามาลงทุนและทำธุรกิจด้านขนส่งได้สะดวกกว่าที่เป็นอยู่ ซึ่งก็เป็นผลจากการถูกผลักดันจากประเทศคู่เจรจา โดยเฉพาะการเจรจากับประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งต้องการให้ประเทศไทยเปิดเสรีด้านการขนส่งทั้งทางบก , ทางน้ำ
Read More

AEC : Roadmap บริการโลจิสติกส์ในอาเซียน

Roadmap บริการโลจิสติกส์ในอาเซียน บริการโลจิสติกส์ครอบคลุมสาขาบริการย่อยจำนวนมาก อาทิ การขนส่ง การรับจัดการขนส่ง ตัวแทนออกของ ท่าขนส่ง คลังสินค้า การจัดการสินค้าคงคลัง การรับจัดซื้อและกระจายสินค้า และบริการสารสนเทศโลจิสติกส์ เป็นต้น ซึ่งทุกประเทศในอาเซียนยอมรับว่าโลจิสติกส์มีความสำคัญต่อการขยายเศรษฐกิจการค้าและการลงทุนในภูมิภาคนี้เป็นอย่างมาก ที่ประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนซึ่งประกอบด้วยบรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย พม่า ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม มีมติผลักดันให้โลจิสติกส์เป็นบริการที่ต้องเร่งรัดการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ (Priority Sector) เพื่อเป็นการนำร่องสำหรับการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Read More

AEC : การเร่งรัดการรวมกลุ่มในสาขาบริการที่สำคัญของอาเซียน : บริการโลจิสติกส์

AEC : การเร่งรัดการรวมกลุ่มในสาขาบริการที่สำคัญของอาเซียน : บริการโลจิสติกส์ เป็นเวลากว่า 10 ปีที่สมาชิกอาเซียนได้เจรจาจัดทำความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ซึ่งถือได้ว่าเป็นความตกลงเขตการค้าเสรีฉบับแรกของไทย  จนกระทั่งในปี 2545  จึงได้เกิดแนวคิดที่จะปรับระดับความร่วมมือทางเศรษฐกิจให้กระชับมากขึ้น  โดยมีเป้าหมายหลัก คือ การนำไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC) ภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่งจะทำให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า  บริการ  การลงทุน 
Read More

AEC : โลจิสติกส์ศาสตร์แห่งการเอาชนะในเวทีแข่งขัน

AEC : โลจิสติกส์ศาสตร์แห่งการเอาชนะในเวทีแข่งขัน   โลจิสติกส์ เป็นคำที่หลายคนไม่คุ้นเคยว่าหมายความว่าอะไรแน่  แต่คงทราบว่ามีความสำคัญ เพราะอย่างน้อยก็มีแผนยุทธศาสตร์โลจิสติกส์ของสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  มีคณะกรรมการเพื่อดูแลเรื่องนี้เป็นการเฉพาะที่ตั้งโดยคณะรัฐมนตรี  มหาวิทยาลัยตื่นตัวเปิดหลักสูตรเกี่ยวกับโลจิสติกส์ 20 กว่าแห่ง  และสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ก็มีกรรมการร่างยุทธศาตร์ในการสร้างกำลังคนโลจิสติกส์   หากค้นหาจาก google ด้วยคำ “โลจิสติกส์” ก็จะพบ web เกือบ 600 web คนจำนวนมากคิดว่า โลจิสติกส์เป็นแค่เพียงการขนส่งของ เพราะเห็นรถบรรทุกจำนวนมากเขียนข้างรถว่า logistics   แต่หากอ่านงานวิจัยที่ สกว. สนับสนุนในประชาคมวิจัยเล่มนี้แล้วจะเห็นว่า โลจิสติกส์มีความหมายมากกว่านั้น  เช่น
Read More

AEC : LSP ไทยผนึกกำลังสู้ เทรนด์ยุคการค้าเปลี่ยน-เปิดเสรีรุกคืบ

AEC LSP ไทยผนึกกำลังสู้ เทรนด์ยุคการค้าเปลี่ยน-เปิดเสรีรุกคืบ Source: มนัญญา อะทาโส ธุรกิจโลจิสติกส์ปี 52 แข่งดุ ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทยเหนื่อยทั้งศึกใน-ศึกนอกประเทศ เหตุผลพวงพายุเศรษฐกิจโลกและการเปิดเสรีกรอบอาเซียนที่รุกคืบ ชี้ต้องผนึกกำลังแข่งขัน-เน้นใช้ระบบไอที ด้านผู้ผลิตต่างงัดกลยุทธ์ลดต้นทุนโลจิสติกส์สู้จากวิกฤตเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และการเปลี่ยนแปลงของระบบการค้าในยุคซัพพลายเชนข้ามโลกส่งผลกระทบต่อแนวโน้มธุรกิจโลจิสติกส์เป็นอย่างมาก ที่เห็นชัดเจนคือธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า-ส่งออกหดตัว รวมถึงการเคลื่อนย้ายการค้า-การลงทุนเป็นไปอย่างเสรี ส่วนเทรนด์การค้าปัจจุบันได้หันมาค้าขายระหว่างภูมิภาคมากขึ้น เช่น ประเทศในกลุ่มอาเซียน ซึ่งข้อมูลจากสำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ระบุว่าในปี 2550 ประเทศไทยมีมูลค่าการค้ากับตลาดอาเซียนเป็นอันดับหนึ่ง นอกจากนี้ การที่กลุ่มประเทศอาเซียนได้ประกาศชัดเจนในการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN
Read More

AEC : ASEAN Single Window เชื่อมข้อมูลข้ามโลก 4

AEC : ASEAN Single Window เชื่อมข้อมูลข้ามโลก 4 Source: ปาหนัน ลิ้ม เอกชนระบุชัด e-Customs แก้ตรงจุด ต้องอำนวยความสะดวก-ไม่เพิ่มต้นทุน เอกชนขานรับระบบ e-Customs ระบุช่วยอำนวยความสะดวกด้านพิธีการนำเข้า-ส่งออก ชี้แก้ให้ตรงจุดต้องไม่เพิ่มต้นทุน เผย Asean Single Window ช่วยส่งเสริมการค้าในภูมิภาคอาเซียน ปัจจุบันกรมศุลกากรได้พัฒนาระบบงานของกระบวนการนำเข้า-ส่งออก และการเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง และได้ทยอยนำระบบการให้บริการผ่านพิธีการศุลกากรนำเข้า-ส่งออกทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไร้เอกสาร (e-Import/e-Export) มาให้บริการสำหรับการนำเข้า-ส่งออก
Read More

AEC : ASEAN Single Window เชื่อมข้อมูลข้ามโลก 3

AEC : ASEAN Single Window เชื่อมข้อมูลข้ามโลก 3 Source: ปาหนัน ลิ้ม “นักวิชาการ” ชี้ระบบไทยยังล้าหลัง เร่งก้าวให้ทันสิงคโปร์-มาเลเซีย “นักวิชาการ” เผยระบบ e-Logistics ไทยยังล้าหลัง เทียบสิงคโปร์-มาเลียเซียไม่ติด ระบุเวียดนามเป็นเต่าติดเทอร์โบเบียดแซงไทย แนะเร่งออก พ.ร.บ. อำนวยความสะดวกทางอิเล็กทรอนิกส์ แม้ว่ากรมศุลกากรไทยจะพัฒนาไปก้าวไกลเพียงใด แต่หากให้เปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่งอย่างสิงคโปร์หรือมาเลเซียแล้ว นับว่าประเทศเหล่านั้นมีการพัฒนาระบบ e-Logistics ไปไกลกว่าประเทศไทยมาก โดยเฉพาะเวียดนามที่ขณะนี้มาแรงสุด
Read More

AEC : ASEAN Single Window เชื่อมข้อมูลข้ามโลก 2

AEC : ASEAN Single Window เชื่อมข้อมูลข้ามโลก 2 Source: ปาหนัน ลิ้ม สภาพัฒน์ฯ เร่งเดินเครื่องพัฒนา e-Logistics สภาพัฒน์ฯ เน้นย้ำระบบ e-Logistics สำคัญต้องเร่งพัฒนา เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกและลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ คาดปี 2554 ระบบเสร็จสมบูรณ์สามารถเชื่อมโยงได้ทุกหน่วยงานสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หน่วยงานที่เป็นแกนกลางสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศ ได้กำหนดยุทธศาสตร์การปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า และยกให้เป็นหนึ่งในประเด็นหลักที่ต้องเร่งพัฒนาปรับปรุง โดยเฉพาะเรื่องของการพัฒนาระบบการนำส่งและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารในกระบวนการโลจิสติกส์ให้เป็นอิเล็กทรอนิกส์และพัฒนาระบบ Single Window
Read More

AEC : ASEAN Single Window เชื่อมข้อมูลข้ามโลก 1

AEC : ASEAN Single Window เชื่อมข้อมูลข้ามโลก 1 Source: ปาหนัน ลิ้ม พลิกโฉมส่งออก-นำเข้าไทยเทียบสากล กรมศุลกากรพลิกโฉมการนำเข้า-ส่งออก ยกเครื่องระบบอิเล็กทรอนิกส์เต็มรูปแบบ มุ่งสู่การเชื่อมโยงในระดับอาเซียน ASEAN Single Window ด้านเอกชนมั่นใจระบบช่วยลดต้นทุน สะดวก รวดเร็ว ทั้งเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน ตั้งเป้าไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจการค้าอินโดจีน กรมศุลกากรเอาจริงประกาศยกเครื่องระบบการทำงานทั้งกระบวน หวังมุ่งสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์เต็มรูปแบบ เชื่อมโยงข้อมูลในประเทศด้วยระบบ e-Logistics รวมถึงสามารถส่งผ่านข้อมูลระหว่างประเทศด้วยระบบ ASEAN
Read More

การจัดการโลจิสติกส์อย่างมีดีไซน์

การจัดการโลจิสติกส์อย่างมีดีไซน์ การดำเนินธุรกิจในปัจจุบันต้องอาศัยความสามารถในการปรับตัว ให้ทันกับความต้องการของผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และยากต่อการคาดการณ์ สินค้าหลายประเภทเริ่มจะมีวงจรชีวิตที่สั้นลง นอกจากนี้ ลูกค้ายังมีความต้องการสินค้าและบริการ ที่มีความแตกต่างในรายละเอียดปลีกย่อยมากยิ่งขึ้น ทำให้ประสิทธิภาพของการดำเนินกิจกรรมโลจิสติกส์ กลายมาเป็นตัวชี้วัดความอยู่รอดของธุรกิจไปแล้ว หากพิจารณาจากบริบทของการพัฒนาไปสู่องค์กรแห่งดีไซน์ (Corporation of Design) ที่มีองค์ประกอบร่วม 3 ด้าน ได้แก่ กระบวนการ เทคโนโลยี และสุนทรียภาพ จะพบว่า แนวคิด “ดีไซน์” ถือเป็นหัวใจสำคัญในการจัดการโลจิสติกส์อย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการ การจัดการโลจิสติกส์ต้องอาศัยการออกแบบและปรับปรุงกระบวนการทำงานให้เกิดความยืดหยุ่นและคล่องตัว
Read More