Tag: Marketing

รัฐวิสาหกิจโลจิสติกส์-ได้เวลาเปลี่ยนแปลงใหญ่

รัฐวิสาหกิจโลจิสติกส์-ได้เวลาเปลี่ยนแปลงใหญ่   ความจำเป็นที่ประเทศต้องมีการลงทุนทางด้านเครือข่ายโลจิสติกส์ หรือระบบการจัดส่ง รวมทั้งระบบขนส่งมวลชน เป็นสิ่งที่ไม่อาจปฏิเสธได้ ยิ่งในยุคน้ำมันแพงด้วยแล้ว การลงทุนเหล่านี้ย่อมมีความสำคัญมากขึ้นเป็นทวีคูณ และการปรับปรุงให้ระบบโลจิสติกส์ และขนส่งมวลชนให้มีประสิทธิภาพ จะทำให้เราสามารถรับมือกับสถานการณ์ราคาพลังงานผันผวนได้ ลำพัง ศักยภาพทางการเงิน ของรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับระบบขนส่งมวลชน และโลจิสติกส์ มีขีดจำกัด ดังนั้น จึงไม่อาจหวังได้ว่ารัฐวิสาหกิจเหล่านี้จะอยู่ในสถานะที่จะขยับขยายการลงทุนเองได้ การปล่อยให้เป็นไปตามยถากรรม หรือสภาพดังกล่าว ย่อมหมายถึง การสูญเสียโอกาสในการขยายบริการพื้นฐาน ให้เกิดขึ้นอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ ระบบโลจิสติกส์และระบบขนส่งมวลชนที่ดี ยังเป็นพื้นฐานสำคัญต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การคาดหวังว่ารัฐวิสาหกิจเหล่านี้ จะผลักดันเมกะโปรเจคที่ใช้เม็ดเงินในการลงทุนระดับหมื่นล้านแสนล้านย่อมไม่อาจเกิดขึ้นได้
Read More

'เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์' สมการ บันเทิงครบวงจร

‘เมเจอร์ซีนีเพล็กซ์”‘ สมการ บันเทิงครบวงจร แม้จะดำเนินธุรกิจมาไม่ยาวนานระดับตำนานของวงการ แต่วันนี้ “เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ป” โดยใต้การกุมบังเหียนของ วิชา พูลวรลักษณ์ เจ้าของฉายา “ราชาเมืองหนัง” ซึ่งระยะหลังเปลี่ยนเป็น”ราชาเทกโอเวอร์” ก็สามารถผงาดขึ้นมาเป็นผู้นำธุรกิจโรงภาพยนตร์ด้วยคอนเซ็ปต์ เอนเตอร์เทนเมนต์ คอมเพล็กซ์ ครบวงจร ปัจจุบันภายใต้บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กรุ้ปฯ มีโรงหนัง 2 แบรนด์ คือ เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์
Read More

การตลาดโลจิสติกส์

การตลาดโลจิสติกส์ สิทธิชัย ฝรั่งทอง วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก กรุงเทพธุรกิจ วันอังคารที่ 02 มกราคม พ.ศ. 2550 ความท้าทายในการแข่งขันยุคโลกาภิวัตน์ คือทุกสิ่งทุกอย่างจะเป็นไร้พรมแดนมากยิ่งขึ้น ซึ่งองค์กรธุรกิจที่มีหน่วยธุรกิจ (Strategic Business Unit : SBU) เป็นจำนวนมาก จะต้องมีการเชื่อมโยงเข้าหากัน ในยุคนี้ จะมีธุรกิจข้ามชาติเข้ามาแข่งขันเพิ่มขึ้น ซึ่งมีความรู้ ความชำนาญ ทักษะ และมีนวัตกรรมทางการจัดการ ที่นำวิชาการมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้อย่างเหนือชั้นธุรกิจในประเทศ โดยเครื่องมือหนึ่งที่ให้ความสำคัญมากในปัจจุบันก็คือ
Read More

มอง 'เศรษฐศาสตร์' ให้ถึงแก่นสาร

มอง “เศรษฐศาสตร์” ให้ถึงแก่นสาร คอลัมน์ ระดมสมอง โดย เพสซิมิสต์ ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ปีที่ 30 ฉบับที่ 3837 (3037) ขณะนี้มีการกล่าวถึงนโยบายเศรษฐกิจกันมาก ซึ่งอิงไปถึงทฤษฎีที่แตกต่างจากทฤษฎีพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ เช่น ความผาสุกของประชาชนหรือ gross national happiness (GNH) เศรษฐกิจพอเพียงและการให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อม เช่น
Read More

กรณีศึกษาการทำงานของนิตยสารระดับโลก (จบ)

กรณีศึกษาการทำงานของนิตยสารระดับโลก (จบ) วิกรม กรมดิษฐ์ vikrom@vikrom.net กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 สัปดาห์ที่แล้วผมได้ชี้ให้เห็นถึงสัดส่วนของมหาเศรษฐีของโลกในแต่ละทวีปที่มีแง่มุมที่น่าสนใจ และควรแก่การศึกษา ตลอดจนวิเคราะห์ให้เห็นภาพสะท้อนสภาวะเศรษฐกิจของภูมิภาคนั้นๆ ได้ คราวนี้ขอด้วยว่า ฐานเศรษฐกิจของเอเชีย ถึงแม้จะมีการเติบโตสูง แต่มองในแง่ของตัวเองจะพบว่าเรามี GDP ห่างจากอเมริกา และยุโรปอยู่มากเลยทีเดียว เพราะ GDP ของทั้งโลกมี 45 ล้านล้านเหรียญ ซึ่งคนไทยมี
Read More

กรณีศึกษาการทำงานของนิตยสารระดับโลก (1)

กรณีศึกษาการทำงานของนิตยสารระดับโลก” (1) วิกรม กรมดิษฐ์ vikrom@vikrom.net กรุงเทพธุรกิจ วันศุกร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เมื่อไม่นานกี่สัปดาห์มานี้นิตยสารฟอร์บส์ ได้ติดต่อขอสัมภาษณ์ผมเกี่ยวกับประวัติ การทำธุรกิจตลอดจนมุมมอง ต่อสภาวการณ์บ้านเมืองในปัจจุบัน เพื่อที่จะนำบทสัมภาษณ์ลงในนิตยสารของเขา ที่จะออกต้นสัปดาห์หน้าที่จะถึงนี้ จากการได้พูดคุยกับเจ้าหน้าที่ ที่ทำการสัมภาษณ์ซึ่งเป็นนักศึกษาปริญญาโท ที่ศึกษาต่ออยู่ในสหรัฐอเมริกา และทำงานพาร์ทไทม์กับกองบรรณาธิการนิตยสารฟอร์บส์ ซึ่งเป็นนิตยสารเก่าแก่เล่มหนึ่งที่ก่อตั้ง ตั้งแต่ค.ศ.1917 มานั้น ตลอดจนได้สังเกตวิธีการทำงานอย่างเป็นระบบ มาตรฐานสากล มีจรรยาบรรณ เคารพแหล่งข่าวแล้วผมรู้สึกทึ่ง
Read More

'เอาต์ซอร์ซิ่ง' กระแสหลักธุรกิจใหม่

“เอาต์ซอร์ซิ่ง” กระแสหลักธุรกิจใหม่ คอลัมน์ สามัญสำนึก โดย ทวี มีเงิน ประชาชาติธุรกิจ หน้า 8 วันที่ 25 มีนาคม 2547 ปีที่ 27 ฉบับที่ 3569 (2769) ข้อตกลงทางการค้า “เอฟทีเอ” ระหว่างไทยกับสหรัฐ กำลังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันอย่างหนักหน่วงว่า ไทยเสียเปรียบทุกประตู แต่ที่อยากจะเขียนคงไม่ใช่เรื่อง “เอฟทีเอ” แต่เป็นเรื่อง “ธุรกิจเอาต์ซอร์ซิ่ง”
Read More

'สตีเฟ่น อาร์ โควีย์'…กูรูแห่งความเป็นผู้นำ กางตำรานำสังคมไทยสู่… 'KNOWLEDGE WORKER'

สตีเฟ่น อาร์ โควีย์”…กูรูแห่งความเป็นผู้นำ กางตำรานำสังคมไทยสู่… “KNOWLEDGE WORKER” มติชนรายวัน วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ปีที่ 27 ฉบับที่ 9749 *หมายเหตุ – เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา ดร.สตีเฟ่น อาร์ โควีย์ ผู้แต่ง “7 อุปนิสัย
Read More

ดัตช์'โมเดล'

ดัตช์”โมเดล” คอลัมน์ เดินหน้าชน โดย ทวีศักดิ์ บุตรตัน มติชนรายวัน วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2548 ปีที่ 28 ฉบับที่ 9893 รายงานพิเศษของนิตยสารดิ อีโคโนมิสต์ ฉบับวันที่ 2 เมษายน เรื่อง “การอยู่ร่วมกับมุสลิม” ฉายภาพประเทศเนเธอร์แลนด์เมื่อมีชาวมุสลิมจากประเทศต่างๆ ในยุโรปอพยพเข้ามาอยู่ร่วมในสังคม ทำให้เกิดปรากฏการณ์ทางสังคมในหลายๆ ด้าน ทั้งเรื่องของความขัดแย้งทางความคิด
Read More

อนาคตการจัดการ 'ทรัพยากรมนุษย์'

อนาคตการจัดการ “ทรัพยากรมนุษย์” ธงชัย สันติวงษ์ thongchai@spu.ac.th กรุงเทพธุรกิจ วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2548 เมื่อเดือนมีนาคมปีนี้ ผมได้เขียนบทความเรื่อง “ถึงคราว HRM ขึ้นแท่น” ชี้ถึงความสำคัญที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ของวิชาชีพและความรู้ ตลอดจนทักษะในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อันเป็นปัจจัยที่ยอมรับกันว่าสำคัญยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมายและการแข่งขันต่างๆ ในโลกยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงสูง โดยเฉพาะเทคโนโลยีข้อมูลสารสนเทศ ซึ่งนำมาสู่การเปลี่ยนแปลงต่างๆ มากมาย จนถือกันว่าเป็นยุค “สังคมฐานความรู้” [Knowledge Base]
Read More