Tag: ปวดไหล่

สุขภาพ : เวียนศีรษะ ปวดต้นคอ ปวดไหล่ แขนชา รักษาได้

สุขภาพ : เวียนศีรษะ ปวดต้นคอ ปวดไหล่ แขนชา รักษาได้ คอของเราประกอบด้วยกระดูกคอ (Cervical Spine) ทั้งหมด 7 ข้อ แต่ละข้อมีแผ่นกระดูกอ่อนหรือที่เรียกว่าหมอนรองกระดูกคั่นกลาง ทำหน้าที่ป้องกันการเสียดสีและเป็นเสมือนโช้คอัพเพื่อดูดซับและกระจายแรงอัด ส่วนกระดูกที่เราคลำได้เป็นตุ่มๆ ที่อยู่ด้านหลังของคอนั้นเป็นกระดูกที่ยื่นออกจากส่วนหลังของกระดูกคอ ตรงกลางของกระดูกนี้มีลักษณะเป็นรูให้ประสาทไขสันหลังและหลอดเลือดสอดผ่าน ระหว่างรอยต่อของกระดูกคอแต่ละข้อจะมีช่องว่างให้รากประสาทงอกออกมาเพื่อนำคำสั่งจากสมองไปยังกล้ามเนื้อที่ไหล่ แขนและมือ และรับความรู้สึกส่วนต่างๆ กลับไปยังสมอง กระดูกคอมีขนาดเล็กแต่ต้องแบกรับน้ำหนักของศีรษะที่มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา จึงเกิดความบอบช้ำบาดเจ็บได้ง่ายและเสื่อมได้เร็วกว่า ส่งผลกระทบต่อเส้นประสาท หลอดเลือดและไขสันหลังที่อยู่บริเวณเดียวกัน ทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ ปวดต้นคอ
Read More

เตือน!! ปวดไหล่-เวียนศีรษะ-แขนชา อย่านอนใจ

เตือน!! ปวดไหล่-เวียนศีรษะ-แขนชา อย่านอนใจ • คุณภาพชีวิต กลุ่มอาการเสี่ยง ‘โรคกระดูกคอ’ คอของเราประกอบด้วยกระดูกคอ (Cervical Spine) ทั้งหมด 7 ข้อ หรือที่เรียกว่ากระดูก C1-C7 ระหว่างกระดูกแต่ละข้อมีแผ่นกระดูกอ่อนหรือที่เรียกว่าหมอนรองกระดูกคั่นกลางทำหน้าที่ป้องกันการเสียดสีและเป็นเสมือนโช๊คอัพเพื่อดูดซับและกระจายแรงอัด ส่วนกระดูกที่เราคลำได้เป็นตุ่มๆ ที่อยู่ ด้านหลังของคอนั้นเป็นกระดูกที่ยื่นออกจากส่วนหลังของกระดูกคอ ตรงกลางของกระดูกนี้มีลักษณะเป็นรูให้ประสาทไขสันหลังและหลอดเลือดสอดผ่าน ระหว่างรอยต่อของกระดูกคอแต่ละข้อจะมีช่องว่างให้รากประสาทงอกออกมา เพื่อนำคำสั่งจากสมองไปยังกล้ามเนื้อที่ไหล่ แขนและมือ และรับความรู้สึกส่วนต่างๆ กลับไปยังสมอง กระดูกคอมีขนาดเล็กแต่ต้องแบกรับน้ำหนักของศีรษะที่มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา จึงเกิดความบอบช้ำบาดเจ็บได้ง่ายและเสื่อมได้เร็วกว่า ส่งผลกระทบต่อเส้นประสาท
Read More

ปวดไหล่เกิดจากสาเหตุอะไร…

ปวดไหล่เกิดจากสาเหตุอะไร… • คุณภาพชีวิต ความเสื่อมของร่างกาย ปวดเมื่อยบริเวณไหล่เป็นอาการที่พบบ่อยและทุกวันนี้ พบในวัยรุ่นและวัยทำงานมากขึ้นซึ่งต่างจากเดิมที่พบในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ปวดไหล่เกิดจากสาเหตุอะไร… – อิริยาบถหรือท่าที่ผิดสุขลักษณะ: การถือหรือหิ้วของหนักเกินไป การใช้มือหรือแขนข้างใดข้างหนึ่งทำงานหนักเกินไป การสะพายกระเป๋าข้างใดข้างหนึ่งเป็นประจำ การเขียนหนังสือหรือใช้คอมพิวเตอร์นานๆ การสวมใส่รองเท้าส้นสูง เกินไป การนอนหมอนสูงเกินไป การเอี้ยวตัวไปหยิบของ ฯลฯ – ความเครียดทางจิตใจ: ทำให้กล้ามเนื้อบริเวณคอและไหล่หดเกร็ง – ได้รับบาดเจ็บบริเวณหัวไหล่ – พิษของลมและเย็นชื้นเข้าไปแทรกในร่างกาย: พิษของลมและเย็นชื้นที่สะสมไปกีดขวางระบบการไหลเวียนของโลหิตกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นบริเวณไหล่จึงไม่ได้รับการหล่อเลี้ยงอย่างเพียงพอจนเกิดอาการปวดเมื่อยบริเวณหัวไหล่
Read More