Category: System Thinking

มรดกความจน- มรดกความรวย

มรดกความจน- มรดกความรวย คอลัมน์ มองซ้าย มองขวา โดย ภาวิน ศิริประภานุกูล ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2550 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3934 (3134) ในช่วงนี้กระแสโครงการ Silver Ring Thing กำลังระบาดจากประเทศสหรัฐอเมริกามายังประเทศออสเตรเลียครับ โครงการ Silver Ring Thing
Read More

การคิดเชิงระบบ Systems Thinking

การคิดเชิงระบบ Systems Thinking   **ดร.พรพรรณ  ภูมิภู การคิดเชิงระบบหมายถึงอะไร Systems Thinking  การคิดเชิงระบบหมายถึงการคิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มองภาพรวมที่เป็นระบบ  และมีส่วนประกอบย่อยๆ  โดยอาศัยการคิดใด รูปแบบโดยตรง  และโดยทางอ้อม ทฤษฎีระบบ ให้แนวคิดว่าแต่ละสิ่งย่อมอยู่ในเอกภพ  (The Universe)   รวมทั้ง สิ่งเล็ก ใหญ่เพียงใด ล้วนเป็นหนึ่งหน่วยระบบ มีวงจรของการทำงาน มีปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ปัจจัยการผลิต ความเป็นระบบ ผลผลิตรวมย่อมเกิดจากการประสานงานกันหลายๆ
Read More

คิดเชิงระบบ : Systems Thinking – ดร.เกศรา รักชาติ

คิดเชิงระบบ : Systems Thinking – ดร.เกศรา รักชาติ ท่านผู้อ่านเคยคิดบ้างไหมคะ ว่าอันตัวเรานี้ เป็นสมาชิกหรือเป็นหน่วยหนึ่ง ของระบบอะไรบ้าง ลอง list ดู กันไหมคะ เราจะเห็นว่าเราเป็นส่วนหนึ่งของ ครอบครัว ชุมชน สังคม ทีมงานองค์กรที่เราทำงานอยู่ ฯลฯ เยอะแยะไปหมดค่ะ บางครั้งเป็นสมาชิกของระบบที่มีทั้งที่เรารู้ตัว บางครั้งเราไม่รู้ตัวค่ะ และถ้าจะคิดต่ออีกว่า วันๆ หนึ่งตั้งแต่ลืมตาตื่นขึ้นมาจนกระทั่งเข้านอน ชีวิตเราเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับระบบอะไรบ้าง
Read More

ความคิดเชิงระบบ (System thinking)

ความคิดเชิงระบบ (System thinking) เรามักจะได้ยินผู้รู้ทั้งหลายชี้แนะเวลาเราเผชิญปัญหาที่ยาก และต้องจัดการกับปัญหานั้นว่า ต้องมองปัญหาเชิงระบบ คิดให้เป็นระบบ จึงจะแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ ปัญหาก็คือ คิดเชิงระบบ (System thinking) นั้นหมายความว่าอะไร หากผมได้มีโอกาสไปสอนนักศึกษาระดับปริญญาโท หรือปริญญาเอก ผมมักจะหา (ฉวย) โอกาสถามในชั้นเรียนหลายครั้งว่า แต่ละคนคิดถึงอะไร เวลาพูดถึง “ความคิดเชิงระบบ” เพราะทุกคนเวลาจะเขียนวิทยานิพนธ์ หรืออภิปรายในชั้นเรียน ต้องมีคำๆ นี้หลุดออกมาแน่นอน กะว่าจะหาทางลัดในการหาคำตอบให้กับตัวเองโดยไม่ต้องลงแรง เผื่อพบคำตอบดีๆ ผลก็คือ
Read More

การคิดและการเกิดความรู้เชิงกระบวนการ

การคิดและการเกิดความรู้เชิงกระบวนการ จากทฤษฏีพัฒนาการตั้งของเปียอาเจ เคยเสนอขั้นตอนการพัฒนาการตั้งแต่แรกเกิดไว้ 4 ระดับคือ sensory motor pre operation concrete และ formal operation ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญ เมื่อกล่าวถึงการคิด ในแต่ละระดับยังเป็นข้อถกเถียงกันว่าในแต่ละระดับมีการคิดทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรมหรือไม่ หรือแม้แต่ว่ามีการคิดหรือไม่ จากนิยามง่ายที่สุดการคิดจะเกิดได้เมื่อมีการจำได้และการตัดสินใจอย่าใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการคิดแบบอุปนัยและนิรนัย (inductive and deductive thinking) โดยทั่วไปการคิดแบบอุปนัยนั้นมีลักษณะที่ได้ข้อสรุปเป็นความรู้จากหลายๆสาเหตุหรือหลายเหตุผล ส่วนนิรนัยมาจากการคิดหาเหตุผลจากข้อสรุปไปอธิบายส่วนย่อยๆ ได้ ลอสันได้แยกแยะรูปแบบการคิดในแต่ละขั้นตอนการพัฒนาของเปียอาเจ โดยคิดให้ทุกขั้นตอนของการพัฒนามีรูปแบบการคิดแบบนิรนัยเชิงสมมุติฐาน
Read More

‘การคิดอย่างเป็นระบบ’ (System Thinking)

“การคิดอย่างเป็นระบบ” (System Thinking) การดำเนินชีวิตในทุกวันนี้ ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเรียน การกิน การเดินทาง ฯลฯ ล้วนแล้วแต่ใช้กระบวนการทางความคิดเป็นหลักทั้ง สิ้น ผู้ที่คิดอย่างเป็นระบบได้มากที่สุด ผู้นั้นก็จะ มีความได้เปรียบในการดำเนินชีวิต ปัจจุบันในเกือบทุกองค์กรได้มีการพัฒนาบุคลากรของตนเองให้มีความสามารถในการคิด และทำอย่างเป็นระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับองค์กร การคิดอย่างเป็นระบบเป็นส่วนหนึ่งของวินัย 5 ประการ ตามแนวคิดในการพัฒนาองค์กรของการเรียนรู้ของ Dr.Peter Senge (ผู้เขียนเรื่อง The Fifth Discipline : The
Read More

วิธีคิดเชิงระบบ (Systems Thinking)

วิธีคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) การคิดเชิงระบบเป็นหลักการที่สำคัญที่สุดในหลัก 5 ประการขององค์กรเรียนรู้และบุคคลเรียนรู้ Peter M. Senge ให้ความสำคัญกับ Systems Thinking มาก จึงเริ่มต้นชื่อหนังสือของเขาทั้งสองเล่มว่า The Fifth Discipline ซึ่งเป็นลักษณะของการคิดเชื่อมโยง มองภาพรวมหรือภาพจากตานก คิดเชิงสังเคราะห์มากกว่าวิเคราะห์แยกแยะ มองเห็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ของระบบ ทั้งความสัมพันธ์เชิงลึกและความสัมพันธ์แนวกว้าง ในลักษณะที่เป็นความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน มากกว่าคิดแบบเหตุ-ผล เชิงเส้นตรง คิดเน้นที่กระบวนการหรือแบบแผน
Read More